Publication: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
Issued Date
2558
Resource Type
Language
tha
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ฉบับพิเศษ (2558), 43-54
Suggested Citation
ณัฐดนัย วิจิตรเกษม, พิมพ์สุรางค์ เตชะบุญเสริมศักดิ์, สุธรรม นันทมงคลชัย, โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์, ศุภชัย ปิติกุลตัง, Pimsurang Taechaboonsermsak, Sutham Nanthamongkolchai, Chokchai Munsawaengsub, Supachai Pitikultang ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ฉบับพิเศษ (2558), 43-54. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2579
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
Alternative Title(s)
Factors influencing aggressive behavior of secondary school students Pak Kret district Nonthaburi province
Corresponding Author(s)
Abstract
การวิจัยเชิงสำารวจภาคตัดขวางครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาป˜จจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ก้าวร้าวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปัจจัยที่มีอิทธิพลและสามารถคาดทำานายพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น อำาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 และ 3 จำานวน 343 คน ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เก็บข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ช่วงเวลาวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 ถึง วันที่ 3 มีนาคม 2558วิเคราะห์โดยการทดสอบสถิติไคสแควร์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นมีพฤติกรรมก้าวร้าวระดับน้อยร้อยละ 76.7ระดับปานกลางร้อยละ 18.1 และระดับมากร้อยละ 5.2 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมก้าวร้าวอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ได้แก่ สัมพันธภาพในครอบครัวอิทธิพลของกลุ่มเพื่อน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชมรมในโรงเรียน สิ่งแวดล้อมของชุมชน การรับรู้ความก้าวร้าวจากสื่อต่างๆ (p < 0.05) ปัจจัยที่มีอิทธิพลและสามารถร่วมคาดทำานายพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อิทธิพลของกลุ่มเพื่อน และการรับรู้ความก้าวร้าวจากสื่อต่างๆ โดยสามารถร่วมทำานายพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นได้ร้อยละ 29.9 จากงานวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าครอบครัว โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน ควรร่วมกันป้องกันแก้ไขพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียน โดยเน้นไปที่การเฝ้าระวังอิทธิพลของกลุ่มเพื่อน และการรับรู้ความก้าวร้าวจากสื่อต่างๆ
This cross—sectional survey research
aimed to study the factors infl uencing
aggressive behaviors among secondary school
in Pak Kret district Nonthaburi. A total of
343 students of secondary school level 1, 2,
and 3 were selected using a multiple stage
sampling technique. Data were collected
through self-administered questionnaires from
February 20th- March 3rd, 2015 and analyzed
by Chi-square Tests, Pearson’s Product
Moment Correlation Coeffi cient and Stepwise
Multiple Regression. The results revealed that
76.7 % of the sample reported having low
level of aggressive behaviors, 18.1% having
moderate aggressive behaviors and 5.2%
having high level of aggressive behaviors.
Signifi cant factors (p < 0.05) associated with
ggressive behaviors comprised family rela-
tionship, infl uencing friends, participation in
schools club activities, environment of the
community, and aggressiveness from mass
media perception. In addition, factors predicting
the aggressive behaviors of secondary school
students were infl uence of friends, and
aggressiveness from mass media perception.
The prediction percentage was 29.0. Findings
from this study recommend that families,
schools and related organizations should
cooperate to protect and decrease aggressive
behaviors among secondary students by close
observation of the infl uence of friends and
aggressiveness from mass media perception.