Publication: Sugar consumption within school food environment among 5th and 6th grade primary school student in Rongwang district, Phrae province, Thailand
Submitted Date
2009-08
Issued Date
2009
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.7, No.2 (2009), 51 - 67
Suggested Citation
Tiwasai Thammasorn, ทิวาศัย ธรรมสอน, Jutatip Sillabutra, จุฑาธิป ศีลบุตร, Pantyp Ramsoota Sugar consumption within school food environment among 5th and 6th grade primary school student in Rongwang district, Phrae province, Thailand. Journal of Public Health and Development. Vol.7, No.2 (2009), 51 - 67. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1625
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Sugar consumption within school food environment among 5th and 6th grade primary school student in Rongwang district, Phrae province, Thailand
Alternative Title(s)
การบริโภคน้ำตาลภายใต้สิ่งแวดล้อมด้านอาหารในโรงเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5และ6ในเขตอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ประเทศไทย
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
The sugar consumption of children in Thailand was high compared with the
standard of appropriate sugar consumption (30g/day), and most of sugar consumes in
the form of soft drink and snack. Children also spend a large amount of time in school,
school food environments were then indicated as the important factor influencing
children eating behavior. Sugar consumption was also related to the cause of many
health problems: obesity, dental caries and some chronic disease. This study therefore
focused to study on sugar consumption within school food environment of primary
school student.
A cross-sectional descriptive study was conducted to determine sugar
consumption from snacks and beverages within school food environment. The study
conducted with 320 students who study in 5th and 6th grade of 9 primary schools,
Rongkwang district, Phrae province, Thailand. Data were collected by self-report
of food intake, questionnaire with interview administered, and observation from
8 January – 5 February 2009.
The result showed that 71.25% of students consumed sugar in school at high
level (>12g/day) and sweet beverage was the main source of sugar intake. Although,
every school had policies to limit sugar consumption, sweet beverages were still found
in all school. The result also revealed that students from different physical and economic
environment were found statistically different in sugar consumption (p-value<0.001),
however, the different was not found with political and socio-cultural environment. There
was also statistically different of sugar consumption among students from 9 schools
(p-value<0.001). This finding suggests that identification of nutrition value in snacks
and beverages and stronger school food policy is needed to improve school food
environment and introduce healthy food for students.
การบริโภคน้ำตาลของเด็กในประเทศไทยมีปริมาณสูงเมื่อเทียบกับปริมาณน้ำตาลที่เหมาะต่อการบริโภคต่อวัน(30 กรัม/วัน)และปริมาณน้ำตาลส่วนใหญ่ได้รับจากการบริโภคเครื่องดื่มและขนมโดยทั่วไปเด็กใช้เวลาส่วนใหญ่ที่โรงเรียน สิ่งแวดล้อมด้านอาหารในโรงเรียนจึงเป็นแปรที่สำคัญต่อพฤติกรรมการบริโภคของเด็ก อีกทั้งปริมาณการบริโภคน้ำตาลมีผลต่อปัญหาทางสุขภาพหลายชนิด เช่น โรคอ้วน ฟันผุ และโรคเรื้อรังบางชนิด ดังนั้นการศึกษานี้จะศึกษาเกี่ยวกับการบริโภคน้ำตาลภายในโรงเรียนของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา การศึกษานี้รายงานการบริโภคน้ำตาลจากขนมและเครื่องดื่มที่มีรสหวานภายในโรงเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 จำนวน 320 คน จาก 9โรงเรียนในเขตอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยทำการเก็บข้อมูลจากแบบบันทึกการบริโภคขนมและเครื่องดื่มแบบสัมภาษณ์ และการสังเกตการณ์สิ่งแวดล้อมด้านอาหารภายในโรงเรียน ระหว่างวันที่ 8 มกราคม ถึง 5 กุมภาพันธ์ 2552 ผลการศึกษาพบว่า 71.25% ของนักเรียนบริโภคน้ำตาลในระดับสูง(12 กรัม/วัน) โดยได้รับจากเครื่องดื่มที่มีรสหวานมากกว่าจากการทานขนม และถึงแม้ว่าทุกโรงเรียนที่เข้าร่วมการศึกษา จะมีนโยบายควบคุมการบริโภคน้ำตาลในโรงเรียน แต่พบว่าทุกโรงเรียนยังมีการขายขนม และเครื่องดื่มที่มีรสหวาน และนักเรียนจากแต่ละโรงเรียนมีการบริโภคน้ำตาลที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ (p-value<0.001)และนักเรียนจากโรงเรียนที่มีความแตกต่างของสิ่งแวดล้อม ด้านกายภาพและเศรษฐกิจ มีการบริโภคน้ำตาลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ (p-value<0.001)แต่ไม่พบความแตกต่างในกรณีที่มีความแตกต่างของสิ่งแวดล้อมด้านนโนบายและสังคม-วัฒนธรรมเกี่ยวกับอาหารภายในโรงเรียน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโรงเรียนควรมีการแสดงคุณค่าทางโภชนาการของขนมและเครื่องดื่มที่ขายในโรงเรียน รวมทั้งปรับปรุงนโยบายและสิ่งแวดล้อมทางด้านอาหารภายในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนได้รับอาหารที่มีประโยชน์จากโรงเรียน
การบริโภคน้ำตาลของเด็กในประเทศไทยมีปริมาณสูงเมื่อเทียบกับปริมาณน้ำตาลที่เหมาะต่อการบริโภคต่อวัน(30 กรัม/วัน)และปริมาณน้ำตาลส่วนใหญ่ได้รับจากการบริโภคเครื่องดื่มและขนมโดยทั่วไปเด็กใช้เวลาส่วนใหญ่ที่โรงเรียน สิ่งแวดล้อมด้านอาหารในโรงเรียนจึงเป็นแปรที่สำคัญต่อพฤติกรรมการบริโภคของเด็ก อีกทั้งปริมาณการบริโภคน้ำตาลมีผลต่อปัญหาทางสุขภาพหลายชนิด เช่น โรคอ้วน ฟันผุ และโรคเรื้อรังบางชนิด ดังนั้นการศึกษานี้จะศึกษาเกี่ยวกับการบริโภคน้ำตาลภายในโรงเรียนของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา การศึกษานี้รายงานการบริโภคน้ำตาลจากขนมและเครื่องดื่มที่มีรสหวานภายในโรงเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 จำนวน 320 คน จาก 9โรงเรียนในเขตอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยทำการเก็บข้อมูลจากแบบบันทึกการบริโภคขนมและเครื่องดื่มแบบสัมภาษณ์ และการสังเกตการณ์สิ่งแวดล้อมด้านอาหารภายในโรงเรียน ระหว่างวันที่ 8 มกราคม ถึง 5 กุมภาพันธ์ 2552 ผลการศึกษาพบว่า 71.25% ของนักเรียนบริโภคน้ำตาลในระดับสูง(12 กรัม/วัน) โดยได้รับจากเครื่องดื่มที่มีรสหวานมากกว่าจากการทานขนม และถึงแม้ว่าทุกโรงเรียนที่เข้าร่วมการศึกษา จะมีนโยบายควบคุมการบริโภคน้ำตาลในโรงเรียน แต่พบว่าทุกโรงเรียนยังมีการขายขนม และเครื่องดื่มที่มีรสหวาน และนักเรียนจากแต่ละโรงเรียนมีการบริโภคน้ำตาลที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ (p-value<0.001)และนักเรียนจากโรงเรียนที่มีความแตกต่างของสิ่งแวดล้อม ด้านกายภาพและเศรษฐกิจ มีการบริโภคน้ำตาลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ (p-value<0.001)แต่ไม่พบความแตกต่างในกรณีที่มีความแตกต่างของสิ่งแวดล้อมด้านนโนบายและสังคม-วัฒนธรรมเกี่ยวกับอาหารภายในโรงเรียน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโรงเรียนควรมีการแสดงคุณค่าทางโภชนาการของขนมและเครื่องดื่มที่ขายในโรงเรียน รวมทั้งปรับปรุงนโยบายและสิ่งแวดล้อมทางด้านอาหารภายในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนได้รับอาหารที่มีประโยชน์จากโรงเรียน