Publication: ภาวะหมดไฟในการทำงานของทันตาภิบาลในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตสุขภาพที่ 4
Issued Date
2567
Resource Type
Resource Version
Accepted Manuscript
Language
tha
File Type
application/pdf
ISSN
2697-6285 (Online)
Journal Title
วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข
Volume
10
Issue
3
Start Page
507
End Page
520
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
สาขาวิชาบริหารสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 10, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2567), 507-520
Suggested Citation
จุฑาทิพย์ อินทผลัญ, ศริยามน ติรพัฒน์, ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์, Jutathip Intaphalan, Sariyamon Tiraphat, Chanida Lertpitakpong ภาวะหมดไฟในการทำงานของทันตาภิบาลในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตสุขภาพที่ 4. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 10, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2567), 507-520. 520. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/109394
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ภาวะหมดไฟในการทำงานของทันตาภิบาลในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตสุขภาพที่ 4
Alternative Title(s)
Burnout among dental nurses in sub-district health promoting hospitals, Health Region 4
Author's Affiliation
Abstract
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะหมดไฟในการทำงาน และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะหมดไฟในการทำงานของทันตาภิบาลในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตสุขภาพที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง คือ ทันตาภิบาลที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในเขตสุขภาพที่ 4 ตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไป ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลได้ 237 ชุด โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ (Google form) ระหว่างวันที่ 15 กุมภาพันธ์ – 10 เมษายน 2567 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติไคสแควร์ในการทดสอบความสัมพันธ์
ผลการศึกษาพบว่า ภาวะหมดไฟในการทำงานของทันตาภิบาลในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตสุขภาพที่ 4 โดยรวมอยู่ในระดับต่ำ (ร้อยละ 34.60) และปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส ประเภทการจ้างงาน ประสบการณ์ในการประกอบอาชีพทันตาภิบาล ภาวะสุขภาพร่างกาย และภาวะสุขภาพจิต มีความสัมพันธ์กับภาวะหมดไฟในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ผลการวิจัยครั้งนี้ ผู้บริหารสามารถนำไปใช้ในการสนับสนุนนโยบายด้านการเสริมสร้างขวัญกำลังใจ โดยเพิ่มการบรรจุเข้ารับข้าราชการในตำแหน่งทันตาภิบาล เพื่อสร้างความมั่นคงและความก้าวหน้าในวิชาชีพ ตลอดจนจัดให้มีนโยบายในการส่งเสริมดูแลรักษาสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิต เพื่อป้องกันและบรรเทาภาวะหมดไฟในการทำงาน
This study aims to investigate burnout and its associated factors among dental nurses in sub-district health promoting hospitals within Health Region 4. The sample consists of dental nurses with at least one year of experience in these hospitals. Data collected from simple random sampling, resulting in 237 data sets collected via an online questionnaire (Google Form) from February 15 to April 10, 2023. Data analysis include frequency, percentage, mean, standard deviation, and Chi-square tests. The findings indicated that overall, burnout among dental nurses in sub-district health promoting hospitals in Health Region 4 was at a low level (34.60%). Personal factors such as age, marital status, employment type, professional experience, physical health, and mental health were significant statistically associated with burnout (p<0.05). The findings from this research can be utilized by the management to support policies aiming at boosting morale. This includes increasing the appointment of dental nurses to ensure job security and career advancement. Additionally, policies should be established to promote physical and mental health care to prevent and alleviate burnout.
This study aims to investigate burnout and its associated factors among dental nurses in sub-district health promoting hospitals within Health Region 4. The sample consists of dental nurses with at least one year of experience in these hospitals. Data collected from simple random sampling, resulting in 237 data sets collected via an online questionnaire (Google Form) from February 15 to April 10, 2023. Data analysis include frequency, percentage, mean, standard deviation, and Chi-square tests. The findings indicated that overall, burnout among dental nurses in sub-district health promoting hospitals in Health Region 4 was at a low level (34.60%). Personal factors such as age, marital status, employment type, professional experience, physical health, and mental health were significant statistically associated with burnout (p<0.05). The findings from this research can be utilized by the management to support policies aiming at boosting morale. This includes increasing the appointment of dental nurses to ensure job security and career advancement. Additionally, policies should be established to promote physical and mental health care to prevent and alleviate burnout.