Publication:
ความชุกการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต และปัจจัยทำนายการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร

dc.contributor.authorนิตยา สิตะเสนen_US
dc.contributor.authorกีรดา ไกรนุวัตรen_US
dc.contributor.authorรักชนก คชไกรen_US
dc.contributor.authorNittaya Sitaseanen_US
dc.contributor.authorKerada Krainuwaten_US
dc.contributor.authorRukchanok Koshakrien_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2020-12-30T11:10:38Z
dc.date.available2020-12-30T11:10:38Z
dc.date.created2563-12-30
dc.date.issued2563
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อสำรวจหาความชุกของการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และเพื่อตรวจหาอำนาจการทำนายของปัจจัยน้ำตาลในเลือดสะสม น้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต พฤติกรรมสุขภาพ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ พันธุกรรม และรายได้ ต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ของศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงสำรวจและการศึกษาภาพตัดขวางเชิงพรรณนา วิธีดำเนินการวิจัย: การสำรวจหาความชุกของการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตจากกลุ่มตัวอย่าง 1,084 คน เก็บข้อมูลจากการทบทวนเวชระเบียน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2561 และใช้การวิจัยภาพตัดขวางเชิงพรรณนา เพื่อหาอำนาจการทำนายของปัจจัยต่างๆ ต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 175 คน โดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติการถดถอยโลจิสติก ผลการวิจัย: พบความชุกการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต คือ 363 คนต่อ 1,000 ประชากร กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 66.0 อายุเฉลี่ย 67.3 ปี (SD = 8.9) ปัจจัยต่างๆสามารถร่วมกันทำนายการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ร้อยละ 45.6 (R2 .456) น้ำตาลสะสมในเลือด พฤติกรรมสุขภาพ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และรายได้สามารถทำนายการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตได้ 2.0, 0.8, 0.9 และ 0.1 เท่า ตามลำดับ สรุปและข้อเสนอแนะ: การศึกษานี้สรุปได้ว่าความชุกการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตมีค่าสูง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในเลือด มีคะแนนพฤติกรรมสุขภาพต่ำ มีคะแนนความรอบรู้ด้านสุขภาพต่ำ และมีรายได้ต่ำ มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตมากขึ้น การศึกษานี้ให้ข้อมูลสำคัญที่สามารถนำไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพงาน และพัฒนาโปรแกรม/กิจกรรมเพื่อป้องกัน หรือชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2en_US
dc.description.abstractPurpose: To explore the prevalence of diabetic nephropathy and to examine the predictive power of factors in terms of HbA1C, FBS, blood pressure, health behavior, health literacy, genetics, and income on the occurrence of diabetic nephropathy among type 2 diabetes mellitus patients at public health centers, Bangkok Metropolitan area. Design: A survey research and cross-sectional descriptive study were employed in this study. Methods: A survey research design was conducted to explore the prevalence of diabetic nephropathy among 1,084 participants. Data were collected from medical chart reviews during January 1st to December 31st, 2018. A cross-sectional descriptive study design was then performed to examine the predictive power of HbA1C, FBS, blood pressure, health behavior, health literacy, genetics, and income on the occurrence of diabetic nephropathy. Data were collected from 175 participants using self-report questionnaires. Then data were analyzed using descriptive statistics and logistic regression analysis. Main findings: This study revealed that the prevalence of diabetic nephropathy was 363 per 1,000 people. The majority of participants were females (66.0%). The mean age was 67.3 years (SD = 8.9). Logistic regression analysis found that HbA1c, FBS, blood pressure, health behavior, health literacy, genetics, and income could together predict the occurrence of diabetic nephropathy among type 2 diabetes mellitus patients by 45.6% (R2 = .456). HbA1c, health behavior, health literacy, and income could predict the risk of diabetic nephropathy by 2.0, 0.8, 0.9, and 0.1 times respectively. Conclusion and recommendation: The study could be concluded that the prevalence of diabetic nephropathy was high. Patients who could not control HbA1c, having low score of health behavior and health literacy, and having low income were more likely to have a risk for diabetic nephropathy. This study provided important information, which could be used for performing quality improvement and developing diabetic nephropathy programs/ interventions to prevent or delay complications for type 2 diabetes mellitus patients.en_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 4 (ต.ค.- ธ.ค. 2563), 31-43en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/60633
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectภาวะแทรกซ้อนทางไตen_US
dc.subjectความชุกen_US
dc.subjectโรคเบาหวานชนิดที่ 2en_US
dc.subjectdiabetic nephropathyen_US
dc.subjectprevalenceen_US
dc.subjecttype 2 diabetes mellitusen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.subjectNursing Science Journal of Thailanden_US
dc.titleความชุกการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต และปัจจัยทำนายการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativePrevalence of Diabetic Nephropathy and Factors Predicting Diabetic Nephropathy among Type 2 Diabetes Mellitus Patients in Public Health Centers, Bangkok Metropolitanen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/242338

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-kerada-2563.pdf
Size:
241.66 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections