Publication: พิธีเปลี่ยนสภาวะ : กรณีศึกษาพิธีอุปนยนสังสการในสังคมชาวฮินดู
Issued Date
2561
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 37, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2561), 151-169
Suggested Citation
อาชว์ภูริชญ์ น้อมเนียน, สมศักดิ์ อมรสิริพงศ์, Archphurich Nomnan, Somsak Amornsiriphong พิธีเปลี่ยนสภาวะ : กรณีศึกษาพิธีอุปนยนสังสการในสังคมชาวฮินดู. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 37, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2561), 151-169. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/55084
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
พิธีเปลี่ยนสภาวะ : กรณีศึกษาพิธีอุปนยนสังสการในสังคมชาวฮินดู
Alternative Title(s)
Rites of passage: A case study of Upanayana Samsakara ceremony in Hindu society
Abstract
บทความฉบับนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อประมวลองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎี ความสำคัญและที่มาของพิธีเปลี่ยนสภาวะ และเพื่อวิเคราะห์สังเคราะห์พิธีอุปนยนสังสการในสังคมฮินดู พบว่า พิธีอุปนยนสังสการในสังคมฮินดูเป็นพิธีเปลี่ยนสภาวะหนึ่งพบได้ในทุกสังคมที่มีวัฒนธรรมอาจมีลักษณะที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและไม่เกี่ยวข้องกับศาสนา เช่น พิธีที่ไม่เกี่ยวข้องกับศาสนา ได้แก่ พิธีรับปริญญา พิธีเกษียณอายุราชการ เป็นต้น ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับศาสนา ได้แก่ พิธีบาร์ มิตซวาห์ (Bar Mitsvah) ในศาสนายูดายซึ่งมีความคล้ายคลึงกับพิธีศีลกำลัง (Confirmation) ในศาสนาคริสต์ และพิธีอุปนยนสังสการในศาสนาฮินดู เป็นต้น ข้อค้นพบพิธีอุปนยนสังสการพบว่าเป็นพิธีสำคัญและประกอบขึ้นมาเฉพาะเด็กผู้ชายในวรรณะพราหมณ์ (Brahmanas) กษัตริย์ (Kshatriya) และไวศยะ (Vaisyas) เท่านั้น จากนั้นจะเข้าสู่ระบบการศึกษาเล่าเรียนในคุรุกุล (Gurukula) หรือครอบครัวของครู จะถูกเรียกว่าพรหมจารี (Brahmacari) และเรียกช่วงวัยนี้ว่าพรหมจริยอาศรม (Brahmacariya ashrma) เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วนักเรียนเหล่านี้ย่อมเกิดความรู้และมีหลักจริยธรรมในศาสนาฮินดู
เป็นเครื่องดำเนินชีวิต
This qualitative study analyzes and discusses rites of passage with regard to a case study of Upanayana Samsakara in Hindu society in terms of its concepts, theories, significance, and background. Upanayana Samsakara is found in religious and non-religious sociocultural contexts. Non-religious activities include commencement day and retirement day. Religious events include Bar Mitsvah in Judaism, Confirmation in Christianity and Upanayana Samsakara in Hinduism. Upanayana Samsakara is an important ceremony, particularly for Brahmanas, Kshatriya, and Vaisyas. The Brahmacari ceremony is strictly for boys, which is called Brahmacariya ashram and Gurukula. These graduates are instilled with Hindu beliefs, morality, and ethics which can underpin their lives, personalities, awareness, roles, responsibilities, personal development, and help preserve Hindu culture and support.
This qualitative study analyzes and discusses rites of passage with regard to a case study of Upanayana Samsakara in Hindu society in terms of its concepts, theories, significance, and background. Upanayana Samsakara is found in religious and non-religious sociocultural contexts. Non-religious activities include commencement day and retirement day. Religious events include Bar Mitsvah in Judaism, Confirmation in Christianity and Upanayana Samsakara in Hinduism. Upanayana Samsakara is an important ceremony, particularly for Brahmanas, Kshatriya, and Vaisyas. The Brahmacari ceremony is strictly for boys, which is called Brahmacariya ashram and Gurukula. These graduates are instilled with Hindu beliefs, morality, and ethics which can underpin their lives, personalities, awareness, roles, responsibilities, personal development, and help preserve Hindu culture and support.