Publication: ประสิทธิภาพของขนแปรงสีฟันเรียวเล็กและบิดเกลียวหมุนในการกำจัดคราบจุลินทรีย์
Accepted Date
2013-08-10
Issued Date
2013-09
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-5614 (printed)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
กัลยรัตน์ ไกรประยูร, ศิรประภา ตันติกัลชาญ, สุชาวดี บุญยะวนิช, อรวิภา จาละ, ยสวิมล คูผาสุข, วรุณี เกิดวงศ์บัณฑิต. ประสิทธิภาพของขนแปรงสีฟันเรียว เล็กและบิดเกลียวหมุนในการกำจัดคราบจุลินทรีย์. ว ทันต มหิดล. 2556; 33(3): 160-8.
Suggested Citation
กัลยรัตน์ ไกรประยูร, Kanyarat Kraiprayoon, ศิิรประภา ตันติกัลชาญ, Siraprapa Tantikalchan, สุชาวดี บุญยะวนิช, Suchawadee Boonyawanit, อรวิภา จาละ, Orawipa Jala, ยสวิมล คูผาสุข, Yosvimol Kuphasuk, วรุณี เกิดวงศ์บัณฑิต, Varunee Kerdvongbundit ประสิทธิภาพของขนแปรงสีฟันเรียวเล็กและบิดเกลียวหมุนในการกำจัดคราบจุลินทรีย์. กัลยรัตน์ ไกรประยูร, ศิรประภา ตันติกัลชาญ, สุชาวดี บุญยะวนิช, อรวิภา จาละ, ยสวิมล คูผาสุข, วรุณี เกิดวงศ์บัณฑิต. ประสิทธิภาพของขนแปรงสีฟันเรียว เล็กและบิดเกลียวหมุนในการกำจัดคราบจุลินทรีย์. ว ทันต มหิดล. 2556; 33(3): 160-8.. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1069
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ประสิทธิภาพของขนแปรงสีฟันเรียวเล็กและบิดเกลียวหมุนในการกำจัดคราบจุลินทรีย์
Alternative Title(s)
Efficacy of tapered and super spiral toothbrush bristles on plaque removal.
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกำจัดคราบจุลินทรีย์และการเกิดแผล
ถลอกที่เหงือกระหว่างการใช้แปรงสีฟันชนิดขนปลายเรียวเล็กกับชนิดขนบิดเกลียวหมุน
วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: อาสาสมัคร 29 คน อายุระหว่าง 18-50 ปี เข้าร่วมศึกษา
ชนิดซิงเกิ้ลบลายด์แรนดอมไมซ์แบบไขว้กันทางคลินิก อาสาสมัครทุกคนได้รับการขูดหิน
น้ำลายและขัดฟันก่อนการศึกษาในแต่ละรอบ ให้อาสาสมัครสะสมคราบจุลินทรีย์มา 24
ชั่วโมง ย้อมฟันและเหงือกด้วยสีย้อมอีริโทรซินและสีย้อมมิรา-ทู-ทันตามลำดับ ตรวจและ
บันทึกค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์และการเกิดแผลถลอกที่เหงือกก่อนและหลังแปรงฟันด้วย
แปรงสีฟันที่เตรียมให้โดยวิธีสุ่ม ให้อาสาสมัครแปรงฟันด้วยวิธีโมดิฟายด์บาสนาน 3 นาที
โดยไม่ใช้กระจก เว้นระยะ 2 สัปดาห์ ทำเช่นเดียวกันโดยใช้แปรงสีฟันคนละชนิดกับที่ได้
รับครั้งแรก ทดสอบการลดลงของคราบจุลินทรีย์และการเกิดเหงือกถลอกทางสถิติโดยวิธี
แพร์ที-เทสและวิลคอกซันแมทช์-แพร์สซายนด์-แรงค์เทสที่ระดับนัยสำคัญ 0.05
ผลการศึกษา: ดัชนีคราบจุลินทรีย์มีค่าลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังการแปรงสีฟัน
ด้วยแปรงสีฟันทั้ง 2 ชนิด แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่าง
แปรงสีฟันทั้ง 2 ชนิด ในทุกบริเวณ รวมทั้งบริเวณที่เข้าถึงยาก เช่น ขอบเหงือกและด้าน
ประชิด จากการตรวจภายในช่องปากไม่พบภยันตรายหรือผลข้างเคียงต่อเหงือก
บทสรุป: แปรงสีฟันทั้ง 2 ชนิดมีประสิทธิภาพในการกำจัดคราบจุลินทรีย์เหนือเหงือก
อย่างมีนัยสำคัญและปลอดภัยต่อเหงือก
Objective: To compare the efficacy of plaque removal and gingival abrasion between tapered and super spiral toothbrush bristles. Materials and methods: 29 healthy subjects, aged between 18-50 years, participated in a single-blind, randomized, crossover clinical study. Scaling and polishing were performed on all volunteers before each assignment. The teeth and gingiva were disclosed using erythrosine and Mira-2-Ton® disclosing solution, respectively. Pre- and post-brushing plaque score and gingival abrasion were recorded after 24 hours overnight plaque accumulation. Subjects used their randomly assigned toothbrush for 3 minutes with modified Bass technique but was unaided by access to a mirror during brushing. After 2 weeks upon completion of the first treatment, subjects were assigned the remaining brush repeated the same protocol as before. Paired-T-test and Wilcoxon matched-pairs signed-ranks test at p < 0.05 was performed to determine plaque reduction and gingival abrasion. Results: Plaque index was statistically reduced after brushing on both toothbrushes but were not statistically different between 2 toothbrushes in all areas as well as in hard-to-reach areas, i.e. marginal and approximal areas. Oral cavity was within normal limit and no soft tissue or an adverse effect on gingiva was found. Conclusion: Both brushes were significantly effective in removing supragingival plaque and soft tissue safety.
Objective: To compare the efficacy of plaque removal and gingival abrasion between tapered and super spiral toothbrush bristles. Materials and methods: 29 healthy subjects, aged between 18-50 years, participated in a single-blind, randomized, crossover clinical study. Scaling and polishing were performed on all volunteers before each assignment. The teeth and gingiva were disclosed using erythrosine and Mira-2-Ton® disclosing solution, respectively. Pre- and post-brushing plaque score and gingival abrasion were recorded after 24 hours overnight plaque accumulation. Subjects used their randomly assigned toothbrush for 3 minutes with modified Bass technique but was unaided by access to a mirror during brushing. After 2 weeks upon completion of the first treatment, subjects were assigned the remaining brush repeated the same protocol as before. Paired-T-test and Wilcoxon matched-pairs signed-ranks test at p < 0.05 was performed to determine plaque reduction and gingival abrasion. Results: Plaque index was statistically reduced after brushing on both toothbrushes but were not statistically different between 2 toothbrushes in all areas as well as in hard-to-reach areas, i.e. marginal and approximal areas. Oral cavity was within normal limit and no soft tissue or an adverse effect on gingiva was found. Conclusion: Both brushes were significantly effective in removing supragingival plaque and soft tissue safety.
Keyword(s)
คราบจุลินทรีย์
แผลถลอกที่เหงือก
สีย้อมมิรา-ทู-ทัน
สุขภาพอนามัยในช่องปาก
การควบคุมคราบจุลินทรีย์
แปรงสีฟัน
โพลิบิวทิลีนเทเรฟทาเลต
Dental plaque
Gingival abrasion
Mira-2-Ton®
Oral hygiene
Plaque control
Toothbrush
Polybutylene terephthalate
Open Access article
วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล
Mahidol Dental Journal
แผลถลอกที่เหงือก
สีย้อมมิรา-ทู-ทัน
สุขภาพอนามัยในช่องปาก
การควบคุมคราบจุลินทรีย์
แปรงสีฟัน
โพลิบิวทิลีนเทเรฟทาเลต
Dental plaque
Gingival abrasion
Mira-2-Ton®
Oral hygiene
Plaque control
Toothbrush
Polybutylene terephthalate
Open Access article
วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล
Mahidol Dental Journal