Publication: การประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
dc.contributor.author | มาโนช หล่อตระกูล | en_US |
dc.contributor.author | Manote Lotrakul | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-10T02:49:24Z | |
dc.date.available | 2022-10-10T02:49:24Z | |
dc.date.created | 2565-10-10 | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.description.abstract | การฆ่าตัวตายเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ผู้ฆ่าตัวตายส่วนใหญ่อยู่ในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นซึ่งเป็นช่วงวัยที่เป็นกำลังสำคัญในการสร้างผลผลิตของประเทศ จากการศึกษาพบว่า ผู้ฆ่าตัวตายส่วนใหญ่มีโรคทางจิตเวชร่วมด้วย โดยเฉพาะโรคซึมเศร้า การใช้สารเสพติดในทางที่ผิด โรคอารมณ์สองขั้ว และโรคซึมเศร้าดิสไทเมีย การที่บุคลากรทางการแพทย์มีความสามารถในการประเมินผู้ป่วยกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง ให้การช่วยเหลือรักษาหรือส่งปรึกษาจิตแพทย์ จะมีส่วนสำคัญในการช่วยป้องกันการฆ่าตัวตายได้ ปัญหาอุปสรรคสำคัญในการประเมินมิได้เป็นจากการขาดความรู้ หากแต่เป็นการเจตคติในทางลบต่อผู้ป่วยกลุ่มนี้หรือการมองว่าผู้ป่วยต้องการตายเองจึงไม่น่าจะช่วยอะไรได้ วิธีที่ดีที่สุดในการประเมินว่าผู้ป่วยมีความคิดฆ่าตัวตายหรือไม่ คือการถามจากผู้ป่วยเอง การสอบถามเกี่ยวกับการฆ่าตัวตายไม่ทำให้ผู้ป่วยคิดฆ่าตัวตาย ตรงกันข้ามผู้ป่วยจะรู้สึกคลายความกดดันจากการที่ได้พูดปัญหาของตนเองออกมา | en_US |
dc.identifier.citation | รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 34, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2554), 187-189 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-3611 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2651-0561 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79839 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การประเมินความเสี่ยง | en_US |
dc.subject | การฆ่าตัวตาย | en_US |
dc.title | การประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/137874/102522 |