Publication:
ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการจัดการภาวะอ้วนลงพุงด้วยตนเองของผู้ป่วยอ้วนลงพุงในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร

dc.contributor.authorพรรณิภา บุญเทียรen_US
dc.contributor.authorPannipa Boonteinen_US
dc.contributor.authorจงจิต เสน่หาen_US
dc.contributor.authorChongjit Saneha,en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2019-05-21T08:52:41Z
dc.date.available2019-05-21T08:52:41Z
dc.date.created2562-05-21
dc.date.issued2560
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาอํานาจการทําานายของอายุการรับรู้ภาวะสุขภาพสมรรถนะแห่งตน และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่สุขภาพ ต่อพฤติกรรมการจัดการภาวะอ้วนลงพุงด้วยตนเอง รูปแบบการวิจัย : การศึกษาแบบหาอํานาจการทําานาย วิธีดําเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยอ้วนลงพุงจํานวน 200 คน ที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จํานวน 5 ชุด ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามการรับรู้ภาวะสุขภาพ แบบสอบถามสมรรถนะแห่งตน แบบสอบถามการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่สุขภาพ และแบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการภาวะอ้วนลงพุงด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงบรรยาย และสัมประสิทธิ์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่า อายุ การรับรู้ภาวะสุขภาพ สมรรถนะแห่งตน และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่สุขภาพร่วมกันทํานายพฤติกรรมการจัดการภาวะอ้วนลงพุงด้วยตนเองของผู้ป่วยอ้วนลงพุงได้ร้อยละ 59 (R2= .59, F = 14.12, p < .05) มี 2 ปัจจัยที่สามารถทํานายพฤติกรรมการจัดการภาวะอ้วนลงพุงด้วยตนเอง ได้แก่ สมรรถนะแห่งตนและการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่สุขภาพ โดยพบว่าสมรรถนะแห่งตนเป็นปัจจัยที่ทํานายพฤติกรรมการจัดการภาวะอ้วนลงพุงด้วยตนเองของผู้ป่วยอ้วนลงพุงแผนกผู้ป่วยนอกได้สูงสุด (ß = .67, p < .05) รองลงมา คือ การสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่สุขภาพ (ß = .19, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ : จากผลการวิจัยควรจัดกิจกรรมหรือพัฒนาโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยอ้วนลงพุงที่ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีสมรรถนะแห่งตน และส่งเสริมให้มีการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่สุขภาพให้มากขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการจัดการภาวะอ้วนลงพุงด้วยตนเองที่เหมาะสมต่อไปen_US
dc.description.abstractPurpose: To examine the predicting power of age, health perception, self-efficacy, and patient-provider communication, to self-management behaviors of patients with metabolic syndrome. Design: Predictive design. Methods: The study sample consisted of 200 patients with metabolic syndrome who received treatment at one university hospital in Bangkok. Data were collected using 5 questionnaires: 1) personal record form, 2) health-perception, 3) self-efficacy, 4) patient-provider communication, and 5) self-management behaviors. Data were analyzed using descriptive statistics and multiple regression analysis.Main findings: The findings revealed that scores of diabetes self-management of the subjects were at a moderate level. Age, health perception, self-efficacy, and patient-provider communication could account for 59% of variance in metabolic self-management behaviors (R2 = .59, F =14.12, p < .05). Only two of the predictors: self-efficacy and patient-provider communication significantly predicted metabolic self-management behaviors. Self-efficacy has more influence on metabolic self-management (ß = .67, p < .05), follow by patient-provider communication (ß = .19 p < .05).Conclusion and recommendations: Based on the study findings, it is recommended that activities or programs to promote self-efficacy and patient-provider communication for patients with metabolic syndrome should be developed.en_US
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยที่ได้รับทุนจากแผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 35, ฉบับที่ 3 (ก.ค. - ก.ย. 2560), 70-81en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/43961
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectภาวะอ้วนลงพุงen_US
dc.subjectการรับรู้ภาวะสุขภาพen_US
dc.subjectสมรรถนะแห่งตนen_US
dc.subjectการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่สุขภาพen_US
dc.subjectพฤติกรรมการจัดการตนเองen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.titleปัจจัยทํานายพฤติกรรมการจัดการภาวะอ้วนลงพุงด้วยตนเองของผู้ป่วยอ้วนลงพุงในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeFactors Predicting Metabolic Self-Management Behavior among Patients with Metabolic Syndrome at One University Hospital in Bangkoken_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/116098/89456

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-pannipa-2560.pdf
Size:
237.53 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections