Publication:
ประสิทธิผลของโปรแกรมการวางแผนจําหน่ายแบบมีโครงสร้างในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลันต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันความพึงพอใจ และการกลับมารักษาซ้ำ

dc.contributor.authorจุฑาภรณ์ เพิ่มพูลen_US
dc.contributor.authorChuthaporn Phemphulen_US
dc.contributor.authorวันเพ็ญ ภิญโญภาสกุลen_US
dc.contributor.authorWanpen Pinyopasakulen_US
dc.contributor.authorอุษาวดี อัศดรวิเศษen_US
dc.contributor.authorUsavadee Asdornwiseden_US
dc.contributor.authorพันธุ์ศักดิ์ ลักษณบุญส่งen_US
dc.contributor.authorPansak Laksanabunsongen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาศัลยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2018-02-23T08:51:03Z
dc.date.available2018-02-23T08:51:03Z
dc.date.created2018-02-23
dc.date.issued2554
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการวางแผนจําหน่ายแบบมีโครงสร้างในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน ต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน ความพึงพอใจ และการกลับมารักษาซ้ํา รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลอง วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลันรายใหม่ ที่เข้ารับการรักษาที่หอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลร้อยเอ็ด สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 32 ราย กลุ่มควบคุม 32 ราย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการวางแผนจําหน่าย และแบบบันทึกการกลับมารักษาซ้ํา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ANCOVA Independent t-test และ Chi-square test ผลการวิจัย: กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันไม่แตกต่างกัน คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจต่อการวางแผนจําหน่ายในกลุ่มทดลองมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .01) และจํานวนผู้ป่วยที่มีการกลับมารักษาซ้ําในกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมดังกล่าวมีประสิทธิผลในการเพิ่มความพึงพอใจและลดการกลับมารักษาซ้ําในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน พยาบาลจึงควรมีการประยุกต์ใช้โปรแกรมการวางแผนจําหน่ายแบบมีโครงสร้างในการปฏิบัติพยาบาล และมีการพัฒนาสมรรถนะในการวางแผนจําหน่ายร่วมกับทีมสุขภาพ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ป่วยและครอบครัวต่อไปen_US
dc.description.abstractPurpose: This experimental research study was conducted to determine the effectiveness of a structured discharge planning program for patients with acute coronary syndrome on functional status, satisfaction, and unexpected hospital revisits.Design: Experimental research design.Methods: The sample was randomly selected and assigned into experimental and control groups, 32 in each group. The sample consisted of new cases with acute coronary syndrome recruited from the Medical Department, Roi-Et Hospital. Data were collected by using a demographic questionnaire, functional status assessment form, patient satisfaction towards discharge planning questionnaire, and hospital revisit record. Data were analyzed using descriptive statistics, Analysis of Covariance (ANCOVA), independent t-test, and Chi-square test. Main findings: The results found that the mean scores of functional status in the experimental group and the control group were not statistically significantly different. However, the mean scores of satisfaction on structured discharge planning in the experimental group were significantly higher than those in the control group (p < .01). Moreover, the number of patients having unexpected hospital revisits in the experimental group were significantly lower than those in the control group (p < .05).Conclusion and recommendations: The results show positive effects of the structured discharge planning program on patients with acute coronary syndrome, including higher satisfaction and a lower number of unexpected hospital revisits. It is suggested that nurses should apply this program when caring for this group of patients, and improve their discharge care competencies to enhance positive outcomes for patients and caregivers.en_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29 (ฉ. เพิ่มเติม 1), ฉบับที่ 2 (เม.ย. - มิ.ย. 2554), 120-128en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/8802
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการวางแผนจําหน่ายแบบมีโครงสร้างen_US
dc.subjectผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลันen_US
dc.subjectความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันen_US
dc.subjectความพึงพอใจการกลับมารักษาซ้ำen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมการวางแผนจําหน่ายแบบมีโครงสร้างในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลันต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันความพึงพอใจ และการกลับมารักษาซ้ำen_US
dc.title.alternativeThe Effectiveness of a Structured Discharge Planning Program in Patients with Acute Coronary Syndrome on Functional Status, Satisfaction and Unexpected Hospital Revisitsen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/2825

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-wanpen-2554.pdf
Size:
279.73 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections