Publication: การนำนโยบายป้องกันอาชญากรรมไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาสถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล 9 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
Issued Date
2559
Resource Type
Language
tha
ISSN
2350-983x
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
กองบริหารงานทั่วไป สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 3, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2559), 115-141
Suggested Citation
โสภาพรรณ สุริยะมณี การนำนโยบายป้องกันอาชญากรรมไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาสถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล 9 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 3, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2559), 115-141. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/43950
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การนำนโยบายป้องกันอาชญากรรมไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาสถานีตำรวจนครบาลกองบังคับการตำรวจนครบาล 9 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
Alternative Title(s)
Crime Prevention Implementations : A Case Study of Police Stations in The Metro Police Bureau, Division 9, Royal Thai Police’s
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงความสำเร็จในการนำ
นโยบายการป้องกันอาชญากรรมไปปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจในสถานี
ตำรวจนครบาลหนองแขม สถานีตำรวจนครบาลหนองค้างพลู และสถานี
ตำรวจนครบาลหลักสอง และเพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จใน
การนำนโยบายการป้องกันอาชญากรรมไปปฏิบัติดังกล่าว การวิจัยครั้งนี้
เป็นการวิจัยทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพผสมผสานเข้าด้วยกัน โดยการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ตำรวจทั้งชั้นสัญญาบัตรและชั้นประทวนในสถานี
ตำรวจนครบาลดังกล่าว และเก็บรวบรวมข้อมูลมาได้ทั้งสิ้น 336 ราย
ผลการวิจัยพบว่า การนำนโยบายไปปฏิบัติในทุก ๆ ด้านได้รับ
ความสำเร็จในระดับสูง นโยบายด้านต่าง ๆ เหล่านั้น ได้แก่ ด้านการป้องกัน
อาชญากรรมจากสภาพแวดล้อม ด้านการพัฒนาระบบสายตรวจให้มีความพร้อม
และมีประสิทธิภาพ ด้านการพัฒนาระบบการแจ้งเหตุทุกระดับโดยเฉพาะศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 ให้ดีขึ้น ด้านการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการป้องกันปัญหา
อาชญากรรม ด้านการจัดระเบียบสังคมและการเข้มงวดกวดขันแหล่งอบายมุข
ต่าง ๆ และด้านการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและบูรณาการ
ทุกภาคส่วน
นอกจากนั้นแล้วความสำเร็จในการนำนโยบายดังกล่าวไปปฏิบัติยัง
แตกต่างกันออกไปตามปัจจัยส่วนบุคคลของเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือกลุ่มตัวอย่าง
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งเป็นผลการวิจัยที่ยอมรับสมมติฐานข้อที่หนึ่ง
ที่กำหนดไว้
ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายการป้องกัน
อาชญากรรมไปปฏิบัติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ปัจจัยทางด้านกลไกและ
กระบวนการในการบังคับใช้นโยบาย ด้านการสื่อสารนโยบาย ด้านทัศนคติต่อ
นโยบายของผู้ที่นำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านความเป็นอิสระในการนำนโยบายไป
ปฏิบัติ (มาตรฐานนโยบาย) ด้านคุณลักษณะของหน่วยงานที่ปฏิบัติ ด้านเงื่อนไข
ทางการเมือง และด้านทรัพยากรของนโยบายเหล่านี้ตามลำดับ ซึ่งเป็นปัจจัย
ในเชิงทฤษฎี และเป็นผลการวิจัยที่ยอมรับสมมติฐานที่กำหนดไว้ในข้อที่สอง
และที่สำคัญยังสอดคล้องกับทฤษฎีของ Van Horn and Van Meter ในเรื่อง
ตัวแบบสหองค์การอีกส่วนหนึ่งด้วย
This study aims to study the success of crime prevention policy implementation of the police stationed in the Metropolitan Police Bureau of Nong khaem, Nong Khang Phlu and Lang Song, and to investigate the factors affecting the success of crime prevention policy implementation. This study is integration approach which integrates between quantitative and qualitative methods and data collecting for 336 cases were gathered from both commissioners and non-commissioners police level in their areas. Research results found that the success of policy implementations all criteria by overview are at high successful level including crime prevention through environmental design, patrol system development, information system development (191 divisions), utilizing technology for crime prevention, social organization (zoning), and enhancing social network to support and participate in crime prevention activities; besides, the crime prevention policy implementation is vary succeed by individual characteristic factors. Therefore, the results are accepted by the first hypothesis. For factors affected the success of crime prevention policy implementations had a statistical significance, including strategy and process of policy compulsory, communication policy, individual attitude on utilizing policy implementation, independence of policy implementation (policy standard) characteristics of the implementing agencies, political conditions and policy resources respectively. The results are accepted by the second hypothesis and also supported Van Horn and Van Meter’s theory.
This study aims to study the success of crime prevention policy implementation of the police stationed in the Metropolitan Police Bureau of Nong khaem, Nong Khang Phlu and Lang Song, and to investigate the factors affecting the success of crime prevention policy implementation. This study is integration approach which integrates between quantitative and qualitative methods and data collecting for 336 cases were gathered from both commissioners and non-commissioners police level in their areas. Research results found that the success of policy implementations all criteria by overview are at high successful level including crime prevention through environmental design, patrol system development, information system development (191 divisions), utilizing technology for crime prevention, social organization (zoning), and enhancing social network to support and participate in crime prevention activities; besides, the crime prevention policy implementation is vary succeed by individual characteristic factors. Therefore, the results are accepted by the first hypothesis. For factors affected the success of crime prevention policy implementations had a statistical significance, including strategy and process of policy compulsory, communication policy, individual attitude on utilizing policy implementation, independence of policy implementation (policy standard) characteristics of the implementing agencies, political conditions and policy resources respectively. The results are accepted by the second hypothesis and also supported Van Horn and Van Meter’s theory.