Publication: Evaluation of Dosimetric Parameters from Patients Based on Whole Body 131 I Bio-Kinetic Clearance in Thyroid Cancer Therapy
Issued Date
2012
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Diagnostic and Therapeutic Radiology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 35, No. 1 (Jan-Mar 2012), 42-47
Suggested Citation
Wirote Changmuang, Niphipol Anongpornjossakul, Kittiphong Thongklam, Kanokon Poonak, Rattanaporn Toengkhuntod, วิโรจน์ ช่างม่วง, นิพิธพล อนงค์ยศสกุล, กิตติพงษ์ ทองกล่ำ, กนกอร ภู่นาค, รัตนาภรณ์ เทิ่งขุนทด Evaluation of Dosimetric Parameters from Patients Based on Whole Body 131 I Bio-Kinetic Clearance in Thyroid Cancer Therapy. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 35, No. 1 (Jan-Mar 2012), 42-47. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79753
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Evaluation of Dosimetric Parameters from Patients Based on Whole Body 131 I Bio-Kinetic Clearance in Thyroid Cancer Therapy
Alternative Title(s)
การประเมินค่าพารามิเตอร์ในการคำนวณปริมาณรังสีจากการขับสารกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 ออกจากร่างกายในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งต่อมไทรอยด์
Abstract
Objective: The study was designed to evaluate the bio-kinetic clearance of radioactive iodine (131l) in the well-differentiated thyroid carcinoma patients treated with 1.11 GBq and to calculate organs and whole body absorbed dose with MIRDOSE3.1 computer software.
Materials and Methods: The whole body retention/excretion of 131l in all patients was determined individually by using gamma camera with high-energy general all purpose (HEGP) at the specific time points after its administration.
Results: The effective half-live (T eff) was estimated from the generated time-activity curves. The mean for effective half-life from whole body clearance curve was 26.2 ± 10.8 hours. The calculated residence time (t) was 38.0 ± 15.6 hours. The retained activity of 131l at 4, 24, 48, 72 and 144 hours was 77.8 ± 11.4, 44.4 ± 13.9, 23.8 ± 12.4, 13.3 ± 9.1 and 2.7 ± 2.6%, respectively. The mean for absorbed doses to whole body was 0.10 (0.04 mGy/MBq). The highest organ dose was uterus (0.11 ± 0.05 mGy/MBq). The mean for effective dose was 0.11 ± 0.04 mSv/MBq.
Conclusion: Retention and clearance rates of 131l could be obtained by in vivo measurements in individual patients. Evaluations of the Teff are essential parameter for absorbed dose calculation to patient and minimize the risk of external radiation exposure to staffs of nuclear medicine, family member and the public. These parameters are essential for management in thyroid cancer therapy, for both in patients and outpatients. Additionally, our parameters could be a useful parameter to develop the guideline for occupational and public radiation protection.
วัตถุประสงค์: เป็นการศึกษาการขับสารกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 ออกจากร่างกายผู้ป่วยมะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิด well-differentiated thyroid carcinoma และคำนวณปริมาณรังสีดูดกลืนที่ร่างกายผู้ป่วยด้วยโปรแกรม MIRDOSE3.1 วิธีการศึกษา: ผู้ป่วยมะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิด well-differentiated thyroid carcinoma ที่ตรงตามเกณฑ์ในการศึกษาจะนำมานับวัดปริมาณรังสีในร่างกายตามเวลาที่กำหนดคือ 4, 24, 48, 72 และ 144 ชั่วโมง ตามลำดับ หลังจากผู้ป่วยได้รับสารกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 แบบ low dose (1.11 GBq) นำค่านับวัดรังสีที่ได้มาสร้างกราฟ exponential เพื่อนำมาคำนวณค่าครึ่งชีวิตยังผล, เวลาที่รังสีสะสมอยู่ในร่างกาย และค่ารังสีดูดกลืนอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ผลการศึกษา: จากการศึกษาพบว่า ค่าครึ่งชีวิตยังผลเฉลี่ยในร่างกายเป็น 26.2 ± 10.8 ชั่วโมง และค่าเวลาเฉลี่ยที่รังสีสะสมอยู่ในร่างกายเป็น 38.0 ± 15.6 ชั่วโมง นอกจากนี้แล้วพบว่าปริมาณสารกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 สะสมในร่างกายที่ 4, 24, 48, 72 และ 144 ชั่วโมง มีค่าเป็น 77.8 ± 11.4, 44.4 ± 13.9, 23.8 ± 12.4, 13.3 ± 9.1 และ 2.7 ± 2.6 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ปริมาณรังสีดูดกลืนเฉลี่ยที่ร่างกายเป็น 0.10 (0.04 mGy/MBq) และพบปริมาณรังสีดูดกลืนสูงสุดที่ uterus มีค่าเฉลี่ยเป็น 0.11 ± 0.05 mGy/MBq ค่าปริมาณรังสียังผลมีค่าเป็น 0.11 ± 0.04 mSv/MBq สรุปผล: ผลการศึกษาที่ได้เป็นข้อมูลเชิงพรรณนา โดยเฉพาะค่าครึ่งชีวิตยังผลที่นำมาใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาปริมาณรังสีดูดกลืนในผู้ป่วย และใช้เป็นข้อมูลในการลดความเสี่ยงการได้รับรังสีของผู้ปฏิบัติงาน ญาติผู้ป่วย และการแผ่กระจายของสารรังสีสู่สิ่งแวดล้อมได้ อีกทั้งใช้ข้อมูลในการปรับปรุง และพัฒนาในงานด้านการป้องกันอันตรายจากรังสีของหน่วยงานอีกด้วย
วัตถุประสงค์: เป็นการศึกษาการขับสารกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 ออกจากร่างกายผู้ป่วยมะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิด well-differentiated thyroid carcinoma และคำนวณปริมาณรังสีดูดกลืนที่ร่างกายผู้ป่วยด้วยโปรแกรม MIRDOSE3.1 วิธีการศึกษา: ผู้ป่วยมะเร็งต่อมไทรอยด์ชนิด well-differentiated thyroid carcinoma ที่ตรงตามเกณฑ์ในการศึกษาจะนำมานับวัดปริมาณรังสีในร่างกายตามเวลาที่กำหนดคือ 4, 24, 48, 72 และ 144 ชั่วโมง ตามลำดับ หลังจากผู้ป่วยได้รับสารกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 แบบ low dose (1.11 GBq) นำค่านับวัดรังสีที่ได้มาสร้างกราฟ exponential เพื่อนำมาคำนวณค่าครึ่งชีวิตยังผล, เวลาที่รังสีสะสมอยู่ในร่างกาย และค่ารังสีดูดกลืนอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ผลการศึกษา: จากการศึกษาพบว่า ค่าครึ่งชีวิตยังผลเฉลี่ยในร่างกายเป็น 26.2 ± 10.8 ชั่วโมง และค่าเวลาเฉลี่ยที่รังสีสะสมอยู่ในร่างกายเป็น 38.0 ± 15.6 ชั่วโมง นอกจากนี้แล้วพบว่าปริมาณสารกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 สะสมในร่างกายที่ 4, 24, 48, 72 และ 144 ชั่วโมง มีค่าเป็น 77.8 ± 11.4, 44.4 ± 13.9, 23.8 ± 12.4, 13.3 ± 9.1 และ 2.7 ± 2.6 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ปริมาณรังสีดูดกลืนเฉลี่ยที่ร่างกายเป็น 0.10 (0.04 mGy/MBq) และพบปริมาณรังสีดูดกลืนสูงสุดที่ uterus มีค่าเฉลี่ยเป็น 0.11 ± 0.05 mGy/MBq ค่าปริมาณรังสียังผลมีค่าเป็น 0.11 ± 0.04 mSv/MBq สรุปผล: ผลการศึกษาที่ได้เป็นข้อมูลเชิงพรรณนา โดยเฉพาะค่าครึ่งชีวิตยังผลที่นำมาใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาปริมาณรังสีดูดกลืนในผู้ป่วย และใช้เป็นข้อมูลในการลดความเสี่ยงการได้รับรังสีของผู้ปฏิบัติงาน ญาติผู้ป่วย และการแผ่กระจายของสารรังสีสู่สิ่งแวดล้อมได้ อีกทั้งใช้ข้อมูลในการปรับปรุง และพัฒนาในงานด้านการป้องกันอันตรายจากรังสีของหน่วยงานอีกด้วย