Publication: ระยะเวลาที่มีผลต่อความคงตัวของสารเรืองแสงในการย้อมเซลล์ที่ถูกตรึง เพื่อวิเคราะห์ด้วยเทคนิค Flow Cytometry
dc.contributor.author | สิรภพ วงษ์เนียม | en_US |
dc.contributor.author | Sirapope Wongniam | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิทยาศาสตร์. หน่วยเครื่องมือกลาง | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Faculty of Science. Central Instrument Facility | en_US |
dc.date.accessioned | 2017-08-02T04:33:19Z | |
dc.date.available | 2017-08-02T04:33:19Z | |
dc.date.created | 2017-08-02 | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.description.abstract | ปัจจัยหนึ่งที่ทำให้งานบริการตรวจวิเคราะห์เซลล์ด้วยเทคนิค flow cytometry ประสบความสำเร็จคือ ระยะเวลาที่เหมาะสมต่อสภาพความคงตัว (stability) ของสารเรืองแสงที่ใช้ เพื่อให้ทราบถึงผลของปัจจัยดังกล่าว ผู้วิจัยได้ตรวจนับจำนวนเซลล์ และปริมาณความเข้มจากการคายแสงของสารฟลูออเรสเซนต์ของเซลล์ที่ถูกตรึง และ ย้อมด้วย propidium iodide (PI) และแอนติบอดี (antibody) ที่จำเพาะกับเซลล์ที่ติดฉลากด้วย fluorescein isothiocyanate (FITC), phycoerythrin (PE) และ PE-Cy7 งานวิจัยได้แบ่งการทดลองเป็น 2 กลุ่มคือ เซลล์ เนื้อเยื่อสัตว์ (เซลล์ MCF-7, เซลล์ HuCCA-1 และเซลล์ HT1080) และเซลล์เม็ดเลือดขาว (granulocytes (CD11b), monocytes (CD14) และ lymphocytes (CD4:CD8 และCD3:CD19)) ถูกวิเคราะห์ด้วยเครื่อง BD FACSCanto flow cytometer ตามระยะเวลา 0, 15, 30 นาที; 1, 2, 3, 5 ช่วั โมง; 1, 2, 3, 4, 5 และ 7 วัน ผลการ วิเคราะห์โดยพิจารณาจากค่า mean differences ที่ 3% ซึ่งแสดงถึงความคงตัวของสารเรืองแสงที่ยอมรับได้ พบว่าใน เซลล์เนื้อเยื่อสัตว์มีค่า mean differences ของจา นวนเซลล์ และปริมาณความเข้มแสงมากกว่า 3% ตั้งแต่วันที่ 3 เป็น ต้นไป ในขณะที่เซลล์เม็ดเลือดขาวมีค่า mean differences ของจา นวนเซลล์มากกว่า 3% ตั้งแต่วันที่ 5 เป็นต้นไป แต่ ค่า mean differences ของปริมาณความเข้มแสงไม่แตกต่างกันอย่างชัดเจน ข้อมูลดังกล่าวบ่งชี้ถึงระยะเวลาที่ เหมาะสมต่อการส่งตัวอย่างเซลล์เนื้อเยื่อสัตว์ และเซลล์เม็ดเลือดขาวเพื่อการวิเคราะห์ในงานวิจัยของผู้รับบริการไม่ ควรเกิน 3 วัน และ 5 วันตามลำดับ จากข้อมูลเบื้องต้นยังสามารถใช้ในการจัดตารางเวลาในการเข้ารับบริการได้ อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป | en_US |
dc.description.abstract | The success of a flow cytometric analysis depends on the stability of fluorescent dyes during preserving time. To gain more details in the stability of fluorescent dyes, the fixative cell lines (MCF-7, HuCCA-1 and HT1080 cells) and white blood cells [granulocytes (CD11b), monocytes (CD14) and lymphocytes (CD4:CD8 and CD3:CD19)] were labeled with propidium iodide (PI) and cell-specific fluorescent labeled antibodies, fluorescein isothiocyanate (FITC), phycoerythrin (PE) and PE-Cy7, respectively. The amount of cell count (event) and emission intensity were measured by BD FACSCanto flow cytometer at the various time points of 0, 15, 30 min; 1, 2, 3, 5 hrs; 1, 2, 3, 4, 5 and 7 days. These were calculated in mean differences comparing to the standard cut-off 3%. In cell lines, >3% of mean differences of both event and intensity could be observed after 3 days. In white blood cells, no change of mean differences of intensity were observed, but event showed >3% after 5 days. Thus, in order to obtain the precise data from fluorescent labeled cell lines and white blood cells, the preserving time should not be over 3 and 5 days, respectively. Moreover, this knowledge can be utilized for a service management to the users. Keywords: Flow Cytometry/ FACS/ Fluorochrome/ Fixative Cells | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 3 (ส.ค. 2559), 1-8 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2626 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | Flow Cytometry | en_US |
dc.subject | FACS | en_US |
dc.subject | Fluorochrome | en_US |
dc.subject | Fixative Cells | en_US |
dc.subject | Journal of Professional Routine to Research | |
dc.title | ระยะเวลาที่มีผลต่อความคงตัวของสารเรืองแสงในการย้อมเซลล์ที่ถูกตรึง เพื่อวิเคราะห์ด้วยเทคนิค Flow Cytometry | en_US |
dc.title.alternative | Stability of Fluorochrome in Fixative Cells for Flow Cytometric Analysis | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication |