Publication: Factors Related to Quality of Life among Patients with HIV/AIDS in Vietnam
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.1), No. 3 (July - September 2017), 56-63
Suggested Citation
Bui Minh Thu, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, Wimolrat Puwarawuttipanit, อรพรรณ โตสิงห์, Orapan Thosingha Factors Related to Quality of Life among Patients with HIV/AIDS in Vietnam. Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.1), No. 3 (July - September 2017), 56-63. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44099
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Related to Quality of Life among Patients with HIV/AIDS in Vietnam
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี /เอดส์ในเวียดนาม
Abstract
Purpose: To determine the relationships among education level, medication adherence, social support, and quality of life in patients with HIV/AIDS in Vietnam.
Design: Descriptive correlational design.
Methods: Sample was 115 HIV/AIDS patients at outpatient center in Bach Mai Hospital, Hanoi, Vietnam. Data were collected using questionnaires: WHOQOL-HIV BREF, Medication Adherence scales, and the Multi-dimensional Scale of Perceived Social Support (MSPSS). Spearman’s rho was employed to examine the relationships among studied variables.
Main findings: The findings showed that there was a positive correlation between social support and overall score of QOL (rs = .38, p < .05).
Conclusions and recommendations: The results imply that perceive social support from different sources are very important to promote quality of life. So, nurses should provide counseling to caregivers, family members, and friends to support patients with HIV/AIDS both physical and psychological aspects.
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ระดับการศึกษา ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา การสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี /เอดส์ในเวียดนาม รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์ วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี /เอดส์ ที่มารับการรักษาที่ตึกผู้นอก โรงพยาบาลบาคมาย เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม จำนวน 115 ราย เก็บรวบรวมโดยใช้แบบสอบถามคุณภาพชีวิต (WHOQOL-HIV BREF) ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา และการรับรู้สนับสนุนทางสังคม (MSPSS) วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป โดยใช้สถิติเชิงบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยใช้สถิติ Spearman’s rho ผลการศึกษา: การรับรู้การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี /เอดส์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .38, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: การรับรู้การสนับสนุนทางสังคมจากแหล่งต่างๆ มีความสำคัญมากในการส่งเสริมคุณภาพชีวิต พยาบาลควรให้คำปรึกษาแก่ผู้ดูแล สมาชิกในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน เพื่อสนับสนุนผู้ป่วยที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี /เอดส์ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ระดับการศึกษา ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา การสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี /เอดส์ในเวียดนาม รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์ วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี /เอดส์ ที่มารับการรักษาที่ตึกผู้นอก โรงพยาบาลบาคมาย เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม จำนวน 115 ราย เก็บรวบรวมโดยใช้แบบสอบถามคุณภาพชีวิต (WHOQOL-HIV BREF) ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา และการรับรู้สนับสนุนทางสังคม (MSPSS) วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป โดยใช้สถิติเชิงบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยใช้สถิติ Spearman’s rho ผลการศึกษา: การรับรู้การสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี /เอดส์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .38, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: การรับรู้การสนับสนุนทางสังคมจากแหล่งต่างๆ มีความสำคัญมากในการส่งเสริมคุณภาพชีวิต พยาบาลควรให้คำปรึกษาแก่ผู้ดูแล สมาชิกในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน เพื่อสนับสนุนผู้ป่วยที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี /เอดส์ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ