Publication: Selecting and Establishment of a Low-Incidence HydronephrosisWistar Rat
Issued Date
2022
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Environment and Resource Studies Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Professional Routine to Research. Vol. 9, No. 1 (Jan-Jun 2022), 39-44
Suggested Citation
Pornrattana Chumanee, Apisit Laosantisuk, Pravet Thongsiri, Wanlop Likitsuntornwong, Panida Butrat, Thanaporn Pinpart, พรรัตนา ช่อมณี, อภิสิทธิ์ เหล่าสันติสุข, ประเวศ ทองศิริ, วัลลภ ลิขิตสุนทรวงศ์, พนิดา บุตรรัตน์, ธนพร พิณพาทย์ Selecting and Establishment of a Low-Incidence HydronephrosisWistar Rat. Journal of Professional Routine to Research. Vol. 9, No. 1 (Jan-Jun 2022), 39-44. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79421
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Selecting and Establishment of a Low-Incidence HydronephrosisWistar Rat
Alternative Title(s)
การคัดเลือกและจัดตั้งโคโลนีหนูแรท Mlac:WR ที่มีอุบัติการณ์ไตบวมนน้ำต่ำที่ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติมหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย
Other Contributor(s)
Mahidol University. National Laboratory Animal Center. Laboratory Animal Production Unit
Mahidol University. National Laboratory Animal Center. Academic Service Unit
Mahidol University. National Laboratory Animal Center. Veterinary Medical Care Unit
มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. งานผลิตสัตว์ทดลอง
มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. งานบริการวิชาการ
มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. งานการสัตวแพทย์
Mahidol University. National Laboratory Animal Center. Academic Service Unit
Mahidol University. National Laboratory Animal Center. Veterinary Medical Care Unit
มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. งานผลิตสัตว์ทดลอง
มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. งานบริการวิชาการ
มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. งานการสัตวแพทย์
Abstract
This study established a low incidence hydronephrosis Wistar rat (Mlac:WR) colony at the National Laboratory Animal Center, Mahidol University, Thailand. Twenty Mlac:WR breeding pairs were randomized to determine the percentage of hydronephrosis in the original National Laboratory Animal Center colony. Hydronephrosis was discovered in 9.66% of the population. Breeder selection for breeding was carried out by using the progeny selection method, which selects offspring based on their characteristics, in combination with the breeding principle of maximum avoidance of inbreeding and the rotational mating system. Breeding pairs that produced hydronephrosis offspring were removed from the colony and replaced with offspring from other healthy breeding pairs within the same group in the next generation. The results from selection and breeding revealed that the incidence of hydronephrosis was 7.5% in the F0, decreasing to 1.07%-1.72% in the F2-F4, and 0.00% in the F5. However, the incidence of hydronephrosis was found at 0.49% in the F6-F7, decreasing to 0.00% in the F8, and was found again at 0.42%-1.02% in the F9-F10. This is because hydronephrosis traits are genetically linked and controlled by several genes. Therefore, it cannot be completely eliminated from the population.
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดตั้งโคโลนีหนูแรท Mlac:WR ที่มีอุบัติการณ์ไตบวมน้ำต่ำที่ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย พ่อแม่พันธุ์หนูแรท Mlac:WR จำนวน 20 คู่ในโคโลนีตั้งต้นของศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติถูกสุ่มขึ้นมาเพื่อใช้ในการตรวจหาเปอร์เซ็นต์การเกิดอุบัติการณ์ไตบวมน้ำ พบว่ามีเปอร์เซ็นต์การเกิดไตบวมน้ำอยู่ที่ 9.66% ของประชากร การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์เพื่อดำเนินการสืบสายพันธุ์นั้นใช้การคัดเลือกด้วยวิธีการคัดเลือกจากลักษณะของรุ่นลูก ร่วมกับหลักการสืบสายพันธุ์หลีกเลี่ยงการเกิดเลือดชิดมากที่สุด และระบบการผสมพันธุ์แบบหมุนวน คู่พ่อแม่พันธุ์ที่ให้ลูกที่มีลักษณะไตบวมน้ำถูกคัดออกจากโคโลนี และถูกทดแทนด้วยลูกที่มาจากคู่พ่อแม่พันธุ์อื่นที่มีสุขภาพดีในกลุ่มเดียวกันในรุ่นถัดไป ผลจากการคัดเลือกและสืบสายพันธุ์พบว่า อุบัติการณ์ไตบวมน้ำ มีค่า 7.5% ในรุ่นที่ 0 ลดลงเหลือ 1.07%-1.72% ในรุ่นที่ 2-4 และลดลงเป็น 0.00% ในรุ่นที่ 5 อย่างไรก็ตาม ได้พบอุบัติการณ์ไตบวมน้ำ มีค่า 0.49% ในรุ่นที่ 6-7 ลดลงเป็น 0.00% ในรุ่นที่ 8 และพบว่า มีค่า 0.42%-1.02% ในรุ่นที่ 9-10 ทั้งนี้เนื่องจากลักษณะไตบวมน้ำเป็นลักษณะที่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรมและถูกควบคุมด้วยยีนหลายยีน ดังนั้นจึงไม่สามารถกำจัดออกจากโคโลนีได้อย่างสมบูรณ์
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดตั้งโคโลนีหนูแรท Mlac:WR ที่มีอุบัติการณ์ไตบวมน้ำต่ำที่ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย พ่อแม่พันธุ์หนูแรท Mlac:WR จำนวน 20 คู่ในโคโลนีตั้งต้นของศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติถูกสุ่มขึ้นมาเพื่อใช้ในการตรวจหาเปอร์เซ็นต์การเกิดอุบัติการณ์ไตบวมน้ำ พบว่ามีเปอร์เซ็นต์การเกิดไตบวมน้ำอยู่ที่ 9.66% ของประชากร การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์เพื่อดำเนินการสืบสายพันธุ์นั้นใช้การคัดเลือกด้วยวิธีการคัดเลือกจากลักษณะของรุ่นลูก ร่วมกับหลักการสืบสายพันธุ์หลีกเลี่ยงการเกิดเลือดชิดมากที่สุด และระบบการผสมพันธุ์แบบหมุนวน คู่พ่อแม่พันธุ์ที่ให้ลูกที่มีลักษณะไตบวมน้ำถูกคัดออกจากโคโลนี และถูกทดแทนด้วยลูกที่มาจากคู่พ่อแม่พันธุ์อื่นที่มีสุขภาพดีในกลุ่มเดียวกันในรุ่นถัดไป ผลจากการคัดเลือกและสืบสายพันธุ์พบว่า อุบัติการณ์ไตบวมน้ำ มีค่า 7.5% ในรุ่นที่ 0 ลดลงเหลือ 1.07%-1.72% ในรุ่นที่ 2-4 และลดลงเป็น 0.00% ในรุ่นที่ 5 อย่างไรก็ตาม ได้พบอุบัติการณ์ไตบวมน้ำ มีค่า 0.49% ในรุ่นที่ 6-7 ลดลงเป็น 0.00% ในรุ่นที่ 8 และพบว่า มีค่า 0.42%-1.02% ในรุ่นที่ 9-10 ทั้งนี้เนื่องจากลักษณะไตบวมน้ำเป็นลักษณะที่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรมและถูกควบคุมด้วยยีนหลายยีน ดังนั้นจึงไม่สามารถกำจัดออกจากโคโลนีได้อย่างสมบูรณ์