Publication:
ประสิทธิผลของโปรแกรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาเพื่อป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

dc.contributor.authorวันวิสาข์ บัวลอยen_US
dc.contributor.authorมณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์en_US
dc.contributor.authorภรณี วัฒนสมบูรณ์en_US
dc.contributor.authorนิรัตน์ อิมามีen_US
dc.contributor.authorWunwisa Bualoyen_US
dc.contributor.authorManirat Therawiwaten_US
dc.contributor.authorPoranee Vathanasombornen_US
dc.contributor.authorNirat Imameeen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.date.accessioned2019-11-29T08:52:28Z
dc.date.available2019-11-29T08:52:28Z
dc.date.created2562-11-29
dc.date.issued2557
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาเพื่อ ป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 54 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 29 ราย และ กลุ่มเปรียบเทียบ 25 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาพัฒนาขึ้นโดยใช้ แนวคิดการพัฒนาทักษะชีวิต ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรปกติของ โรงเรียน ระยะเวลาในการทดลองใช้เวลา 12 สัปดาห์ เก็บข้อมูลโดยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม ด้วยตนเองก่อนและหลังการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน independent t-test และ paired t-test ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีการตระหนักรู้ในตนเรื่องการมีพฤติกรรมเสี่ยงที่นำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ ความสามารถด้านการคิดและการตัดสินใจอย่างมีเหตุผลเพื่อป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ ความสามารถ ด้านการสื่อสารเพื่อป้องกันการมีเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ แต่ทั้งสองกลุ่มมีพฤติกรรมป้องกันสถานการณ์เสี่ยงที่น􀄬ำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โปรแกรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อการ มีเพศสัมพันธ์มีประสิทธิผลทำให้กลุ่มทดลองมีการตระหนักรู้ในตน การคิดและการตัดสินใจรวมทั้ง มีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศที่ดีขึ้น ดังนั้น สถานศึกษาในระดับมัธยมศึกษาอาจนำโปรแกรมนี้ไป ประยุกต์ในการจัดการเรียนการสอนเรื่องเพศศึกษาให้แก่นักเรียนเพื่อให้นักเรียนมีการตระหนักรู้ เรื่องเพศที่ถูกต้อง ส่งเสริมให้เกิดการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์en_US
dc.description.abstractThis quasi-experimental research was aimed to assess the effectiveness of a sex education program to prevent sexual risk behaviors on grade 8 students Nakhon Pathom Province. The sample were 54 students: 29 students in the experimental group and 25 students in the comparison group. The experimental group participated in the sex education program applying the concept of life skills development. For the comparison group, the students received learning activities and sex education contents in accordance with the school’s normal teaching-learning activities. The experimentation was last for 12 weeks. Data collection was made using selfadministered questionnaires, before and after the experimentation (two-group pretest-posttest). Data analysis was done using descriptive statistics in regard to frequency, mean, and standard deviation, while the inferential statistics was used to test the research hypotheses using independent t-test and paired t-test. The research results found that after the experimentation, the experimental group had significantly higher mean scores of awareness about sex and sexual risk behaviors, critical thinking toward risk conditions leading to sexual relationship, and communication skills and making decision properly toward risk conditions than the comparison group. There was not statistically significant different for the preventive sexual risk behaviors between groups. In conclusion, the learning program on sex education and preventive sexual risk behaviors was effective in making the experimental group gained high levels of self-awareness, critical thinking, communication skills, and proper decision making. Thus, secondary schools can apply this program in organizing teaching-learning sex education for secondary school students in order to increase their awareness and to promote proper sex-related behaviors.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 20, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2557), 127-142en_US
dc.identifier.issn0858-9739 (Print)
dc.identifier.issn2672-9784 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48256
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectโปรแกรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาen_US
dc.subjectพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์en_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen_US
dc.subjectการตระหนักรู้เรื่องเพศen_US
dc.subjectLearning program on sex educationen_US
dc.subjectSexual risk behaviorsen_US
dc.subjectSecondary school studentsen_US
dc.subjectself-awareness about sexen_US
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาเพื่อป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมen_US
dc.title.alternativeEffectiveness of a Sex Education Program to Prevent Sexual Risk Behaviors on Grade 8 Students, Sampran District, Nakhon Pathom Provinceen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/19202/18391

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-wunwisa-2557.pdf
Size:
603.21 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections