Publication: The estimation of Carbon storages in various growth stages of sugarcane in Si Sat Chanalai District, Sukhothai Province, Thailand
Issued Date
2009-12
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Environment and Resource Studies. Mahidol University
Bibliographic Citation
Environment and Natural Resources Journal. Vol.7, No.2 (2009), 72-81
Suggested Citation
Wachirawan Watcharapirak, Sura Pattanakiat, Charlie Navanugraha The estimation of Carbon storages in various growth stages of sugarcane in Si Sat Chanalai District, Sukhothai Province, Thailand. Environment and Natural Resources Journal. Vol.7, No.2 (2009), 72-81. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3200
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
The estimation of Carbon storages in various growth stages of sugarcane in Si Sat Chanalai District, Sukhothai Province, Thailand
Alternative Title(s)
การประเมินการสะสมคาร์บอนตามระยะการเจริญเติบโตของอ้อยในพื้นที่ อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
Other Contributor(s)
Abstract
The objectives of this research was to estimate carbon storage in sugarcane plantation in Si satchanalai
district, Sukhothai province in one crop yield. The various growth stages of sugarcane were studied at
aboveground and belowground. In addition, carbon storage in soil was studied in upper soil horizon.
The carbon storage of the sugarcane plantation was analyzed both in plant and soil. The carbon
storage in plant was estimated from biomass and organic carbon percentage in each part of the plant
(leaves, stems roots and ground cover). The estimation of carbon content in each part of the plant was
done by oven drying at 85°C until it was at constant weight. The percentage of organic carbon in
plants was estimated by Titration method. Soil carbon contents were estimated at the upper soil
horizon by Walkley and Black method.The results showed that the carbon storage in the tillering stage
was 4,214.09 kg/rai, the carbon contents of sugarcane trees was 357.56 kg/rai, ground surface was
40.43 kg/rai and in upper soil horizon was 3,816.10 kg/rai. In the stalk elongation stage the results
showed that the carbon storage in one crop yield was 7,648.37 kg/rai, the carbon contents in sugarcane
trees was 702.38 kg/rai, ground surface was 50.43 kg/rai and in upper soil horizon was 6,895.55
kg/rai. In the maturity & ripening stage, the results showed that the carbon storage in one crop yield
was 8,653.46 kg/rai, the carbon contents in sugarcane trees was 1,737.92 kg/rai, ground surface was
86.30 kg/rai and in upper soil horizon was 7,193.24 kg/rai. However, it was found that the carbon
storage content of a sugarcane plantation in one crop yield consists of the carbon storage in sugarcanes
and the organic carbon deposit in the soil was increased when the sugarcane trees grew.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประเมินการสะสมคาร์บอนตามระยะการเติบโตของอ้อย ใน อ.ศรีสัชนา ลัย จ.สุโขทัย ในหนึ่งรอบการเพาะปลูก โดยศึกษา ทั้งส่วนที่อยู่เหนือพื้นดิน , ส่วนที่อยู่ใต้พื้นดิน และการสะสม คาร์บอนในดิน สำหรับพืชประเมินจากมวลชีวภาพและเปอร์เซนต์อินทรีย์คาร์บอน , สิ่งปกคลุมดินประเมินจาก มวลชีวภาพโดยนำพืชไปอบที่อุณหภูมิ 85 °ซ จนน้ำหนักคงที่, การประเมินเปอร์เซนต์อินทรีย์คาร์บอนในพืช โดยใช้วิธีการไตรเตรท สำหรับในดินประเมินการสะสมคาร์บอนที่ดินชั้นบนของหน่วยดินตัวแทนที่ใช้ปลูกอ้อย โดยประเมินอินทรีย์คาร์บอนในดินจากวิธี Walkley and Black method ผลการศึกษาพบว่าปริมาณการสะสมคาร์บอนในพื้นที่ปลูกอ้อยในหนึ่งรอบการเพาะปลูก ซึ่งประกอบด้วย ในระยะแตกกอพบว่ามีปริมาณการสะสมคาร์บอนทั้งหมด 4,214.09 กก./ไร่ประกอบด้วย ปริมาณการสะสมคาร์บอนในพืช 357.56 กก./ไร่ สิ่งปกคลุมดิน 40.43 กก./ไร่ และในดิน 3,816.10 กก./ไร่ สำหรับในระยะย่างปล้องพบว่ามีปริมาณการสะสมคาร์บอนทั้งหมด 7,648.37 กก./ไร่ ประกอบด้วย ปริมาณการสะสมคาร์บอนในพืช 702.38 กก./ไร่ สิ่งปกคลุมดิน 50.43 กก./ไร่ และในดิน 6,895.55 กก./ไร่ และในระยะแก่และสุกพบว่ามีปริมาณการสะสมคาร์บอนทั้งหมด 8,653.46 กก./ไร่ ประกอบด้วยปริมาณการสะสมคาร์บอนในพืช 1,373.92 กก./ไร่ สิ่งปกคลุมดิน 86.30 กก./ไร่ และในดิน 6,216.43 กก./ไร่ ดังนั้นปริมาณการสะสมคาร์บอนในพื้นที่ปลูกอ้อยเพิ่มขึ้นตามระยะการเจริญเติบโตของพืช
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประเมินการสะสมคาร์บอนตามระยะการเติบโตของอ้อย ใน อ.ศรีสัชนา ลัย จ.สุโขทัย ในหนึ่งรอบการเพาะปลูก โดยศึกษา ทั้งส่วนที่อยู่เหนือพื้นดิน , ส่วนที่อยู่ใต้พื้นดิน และการสะสม คาร์บอนในดิน สำหรับพืชประเมินจากมวลชีวภาพและเปอร์เซนต์อินทรีย์คาร์บอน , สิ่งปกคลุมดินประเมินจาก มวลชีวภาพโดยนำพืชไปอบที่อุณหภูมิ 85 °ซ จนน้ำหนักคงที่, การประเมินเปอร์เซนต์อินทรีย์คาร์บอนในพืช โดยใช้วิธีการไตรเตรท สำหรับในดินประเมินการสะสมคาร์บอนที่ดินชั้นบนของหน่วยดินตัวแทนที่ใช้ปลูกอ้อย โดยประเมินอินทรีย์คาร์บอนในดินจากวิธี Walkley and Black method ผลการศึกษาพบว่าปริมาณการสะสมคาร์บอนในพื้นที่ปลูกอ้อยในหนึ่งรอบการเพาะปลูก ซึ่งประกอบด้วย ในระยะแตกกอพบว่ามีปริมาณการสะสมคาร์บอนทั้งหมด 4,214.09 กก./ไร่ประกอบด้วย ปริมาณการสะสมคาร์บอนในพืช 357.56 กก./ไร่ สิ่งปกคลุมดิน 40.43 กก./ไร่ และในดิน 3,816.10 กก./ไร่ สำหรับในระยะย่างปล้องพบว่ามีปริมาณการสะสมคาร์บอนทั้งหมด 7,648.37 กก./ไร่ ประกอบด้วย ปริมาณการสะสมคาร์บอนในพืช 702.38 กก./ไร่ สิ่งปกคลุมดิน 50.43 กก./ไร่ และในดิน 6,895.55 กก./ไร่ และในระยะแก่และสุกพบว่ามีปริมาณการสะสมคาร์บอนทั้งหมด 8,653.46 กก./ไร่ ประกอบด้วยปริมาณการสะสมคาร์บอนในพืช 1,373.92 กก./ไร่ สิ่งปกคลุมดิน 86.30 กก./ไร่ และในดิน 6,216.43 กก./ไร่ ดังนั้นปริมาณการสะสมคาร์บอนในพื้นที่ปลูกอ้อยเพิ่มขึ้นตามระยะการเจริญเติบโตของพืช