Publication: Determinants of preventive behaviour against dengue haemorrhagic fever among caregivers of children in Magway Township, Myanmar
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol. 15, No.3 (Sep-Dec 2017), 65-78
Suggested Citation
Aung Swe Lin, Jiraporn Chompikul, Aroonsri Mongkolchati, อ๋อง ซู ลิน, จิราพร ชมพิกุล, อรุณศรี มงคลชาติ Determinants of preventive behaviour against dengue haemorrhagic fever among caregivers of children in Magway Township, Myanmar. Journal of Public Health and Development. Vol. 15, No.3 (Sep-Dec 2017), 65-78. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62164
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Determinants of preventive behaviour against dengue haemorrhagic fever among caregivers of children in Magway Township, Myanmar
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของผ้ดูแลเด็กในเขตเมืองมาวเวย์ ประเทศพม่า
Other Contributor(s)
Abstract
This cross-sectional study aimed to determine factors associated with preventive behaviour of dengue haemor-rhagic fever (DHF) among caregivers in Magway Township, Myanmar. Multistage cluster sampling was used to draw a sample of 318 caregivers of children aged 1-4 years. A structured questionnaire was used in a face-to-face interview with caregivers at their houses. The data collection was conducted from 21st April 2016 to 30th May 2016. Chi-square test and multiple logistic regression were used to examine associations between independent variables and preventive behaviour against dengue haemorrhagic fever among caregivers of children. The results of this study showed that 26.4% of the caregivers were in a good level of preventive behavior against DHF. The household income (Adj OR=2.35, 95% CI=1.04-5.31), knowledge on DHF (Adj OR=12.99, 95% CI=6.65-25.39), perceived susceptibility (Adj OR=3.13, 95% CI=1.39-7.06), perceived barriers (Adj OR=2.70, 95% CI=1.22-5.93) and self-efficacy (Adj OR=5.48, 95% CI=1.47-20.39) were the significant predictors of with DHF preventive behaviour among caregivers. This study indicated that high income, good knowledge, high perceived susceptibility, low perceived barriers and high self-efficacy among caregivers were required to have good preventive behaviour to prevent their children from DHF. Therefore, adequate income generation, health education, and reduction of barriers should be promoted to increase the high level of the DHF preventive behaviour among caregivers of children
การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรค ไข้เลือดออกของผู้ดูแลเด็กในเขตเมืองมาวเวย์ ประเทศพม่า เด็กที่มีอายุ 1-4 ปี จำนวน 318 คน ได้ถูกสุ่มเป็นตัวอย่างด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มหลายขั้นตอน การเก็บรวบรวมข้อมูลในระหว่างวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2559 ถึง วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้ดูแลเด็กที่บ้านด้วยแบบสอบถามที่มีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแควร์และการถดถอยลอจิสติคพหุคูณเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของผู้ดูแลเด็ก ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 26.4 ของผู้ดูแลเด็กมีพฤติกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในระดับดี ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของผู้ดูแลเด็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ รายได้ของครอบครัว (Adj OR = 2.35, 95% CI = 1.04-5.31) ความรู้เกี่ยวกับ DHF (Adj OR = 12.99, 95% CI = 6.65-25.39), การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคไข้เลือดออก (Adj OR = 3.13, 95% CI = 1.39- 7.06) การรับรู้อุปสรรค (Adj OR = 2.70, 95% CI = 1.22-5.93) และ การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Adj OR = 5.48, 95% CI = 1.47-20.39) การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าผู้ดูแลเด็กที่มีรายได้สูง ความรู้ดี การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคสูง การรับรู้ต่ออุปสรรคต่ำ และการรับรู้ความสามารถในของตนเองสูง จะมีพฤติกรรมการป้องกันโรคที่ดีเพื่อป้องกันเด็กจากโรคไข้เลือดออก ดังนั้นควรส่งเสริมให้มีมาตรการการสร้างรายได้ ควรส่งเสริมการให้สุขศึกษา และลดอุปสรรคของการป้องกันโรค เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกในผู้ดูแลเด็กให้สูงขึ้น
การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรค ไข้เลือดออกของผู้ดูแลเด็กในเขตเมืองมาวเวย์ ประเทศพม่า เด็กที่มีอายุ 1-4 ปี จำนวน 318 คน ได้ถูกสุ่มเป็นตัวอย่างด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มหลายขั้นตอน การเก็บรวบรวมข้อมูลในระหว่างวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2559 ถึง วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้ดูแลเด็กที่บ้านด้วยแบบสอบถามที่มีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแควร์และการถดถอยลอจิสติคพหุคูณเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของผู้ดูแลเด็ก ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 26.4 ของผู้ดูแลเด็กมีพฤติกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในระดับดี ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของผู้ดูแลเด็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ รายได้ของครอบครัว (Adj OR = 2.35, 95% CI = 1.04-5.31) ความรู้เกี่ยวกับ DHF (Adj OR = 12.99, 95% CI = 6.65-25.39), การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคไข้เลือดออก (Adj OR = 3.13, 95% CI = 1.39- 7.06) การรับรู้อุปสรรค (Adj OR = 2.70, 95% CI = 1.22-5.93) และ การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Adj OR = 5.48, 95% CI = 1.47-20.39) การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าผู้ดูแลเด็กที่มีรายได้สูง ความรู้ดี การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคสูง การรับรู้ต่ออุปสรรคต่ำ และการรับรู้ความสามารถในของตนเองสูง จะมีพฤติกรรมการป้องกันโรคที่ดีเพื่อป้องกันเด็กจากโรคไข้เลือดออก ดังนั้นควรส่งเสริมให้มีมาตรการการสร้างรายได้ ควรส่งเสริมการให้สุขศึกษา และลดอุปสรรคของการป้องกันโรค เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกในผู้ดูแลเด็กให้สูงขึ้น