Publication: Venous Thromboembolism in Solid Cancer Patients
Issued Date
2009
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Research Center Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Research Center Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 32, No. 4 (Oct-Dec 2009), 167-176
Suggested Citation
Dechwit Worasayan, Touch Ativitavas, Pantep Angchaisuksiri, Umaporn Udomsubpayakul, Thitiya Sirisinha, Ekaphop Sirachainan, Ravat Panvichian, Vorachai Ratanatharathorn, เดชวิทย์ วรสายัณห์, ธัช อธิวิทวัส, พันธ์ุเทพ อังชัยสุขศิริ, อุมาพร อุดมทรัพยากุล, ธิติยา สิริสิงห, เอกภพ สิระชัยนันท์, เรวัต พันธุ์วิเชียร, วรชัย รัตนธราธร Venous Thromboembolism in Solid Cancer Patients. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 32, No. 4 (Oct-Dec 2009), 167-176. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79902
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Venous Thromboembolism in Solid Cancer Patients
Alternative Title(s)
ภาวะหลอดเลือดดำอุดตันในผู้ป่วยโรคมะเร็งก้อนทูม
Author(s)
Dechwit Worasayan
Touch Ativitavas
Pantep Angchaisuksiri
Umaporn Udomsubpayakul
Thitiya Sirisinha
Ekaphop Sirachainan
Ravat Panvichian
Vorachai Ratanatharathorn
เดชวิทย์ วรสายัณห์
ธัช อธิวิทวัส
พันธ์ุเทพ อังชัยสุขศิริ
อุมาพร อุดมทรัพยากุล
ธิติยา สิริสิงห
เอกภพ สิระชัยนันท์
เรวัต พันธุ์วิเชียร
วรชัย รัตนธราธร
Touch Ativitavas
Pantep Angchaisuksiri
Umaporn Udomsubpayakul
Thitiya Sirisinha
Ekaphop Sirachainan
Ravat Panvichian
Vorachai Ratanatharathorn
เดชวิทย์ วรสายัณห์
ธัช อธิวิทวัส
พันธ์ุเทพ อังชัยสุขศิริ
อุมาพร อุดมทรัพยากุล
ธิติยา สิริสิงห
เอกภพ สิระชัยนันท์
เรวัต พันธุ์วิเชียร
วรชัย รัตนธราธร
Abstract
Background: Venous thromboembolism (VTE) is a frequent and significant complication of cancer. Many previous studies showed that malignancy was the most common acquired cause of VTE which potential caused many effects on cancer patients themselves, treatments and prognosis.
Objectives: To identify the incidence of VTE, risk factors and review the characteristics, clinical course including VTE treatment of patients with solid cancer who had VTE.
Methods: Non-gynecological solid cancer patients with VTE, treated at Ramathibodi hospital during January 2003 to December 2007, were enrolled in this study. Patient characteristics were obtained from their medical records with emphasis on primary site of cancer, staging, demographics, type of cancer treatment and circumstantial vascular risk factors.
Results: There are 178 cancer patients included in this study. The mean age of the patients is 58.77 years. It is equally by sex. Among the patients, lung, colorectal, hepatocellular carcinoma (HCC), breast cancer and cholangiocarcinoma are the top five most common cancers respectively. Our study shows that cancer patients with VTE tend to have advanced stage, higher recurrence and poorer response to treatment. Adenocarcinomas are the most common type of cancer in our study. Approximately 50% of our patients developed VTE at the same time with cancer diagnosis. The latter had developed this condition for the mean of 13.3 months later from that time. PORT implantation and some primary tumors are related with sites of VTE. Median time from VTE presentation until death is 22.3 months. Female has significantly better prognosis than male patients (p = 0.0123). Breast and colorectal cancers also have the same than others too (p < 0.001). One third of the patients treated with anticoagulant had major bleeding complication and 60% of them occurred within 1 month after warfarin usage.
Conclusion: Cancer patients with VTE have poor prognosis and tend to have more advanced stage and poorer response to therapy. Moreover, they might increase bleeding complication from anticoagulation therapy. However, our populations are too small to determine other risk factors which previously reported. Large number of patient needs to be more study in this condition.
บทนำ: Venous Thromboembolism (VTE) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยและสำคัญของโรคมะเร็ง หลายการศึกษาก่อนหน้านี้ แสดงว่าโรคมะเร็งก็เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิด VTE ซึ่งจะก่อให้เกิดผลกระทบมากมายในผู้ป่วยมะเร็งเองการรักษาและพยากรณ์โรค วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาลักษณะทางคลินิกของโรค การรักษา และผลการรักษาของผู้ป่วยโรคมะเร็งก้อนทูมที่มีผลต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน และลักษณะทางคลินิกที่เป็นไป วิธีการวิจัย: ได้ศึกษาย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยในโรคมะเร็งก้อนทูมที่ไม่รวมมะเร็งทางนรีวชใน รพ.รามาธิบดี ที่มีภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 ถึง 28 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยเก็บข้อมูลชนิดโรคมะเร็ง ระยะโรค การรักษา การดำเนินโรค และการเกิดภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน ลักษณะทางคลินิก และความเสี่ยงอื่นๆ ที่เคยมีรายงานว่ามีความสัมพันธ์ร่วมด้วย รวมทั้งการใช้ยารักษาภาวะดังกล่าว และผลแทรกซ้อน ผลการศึกษา: พบว่ามีผู้ป่วยมะเร็งในการศึกษา 178 ราย เป็นชายหญิงอย่างละเท่าๆ กัน อายุเฉลี่ย 58.77 ปี เกิดในมะเร็งปอด ลำไส้ใหญ่ เต้านม และตับกับทางเดินน้ำดี เป็นห้าอันดับแรก จากมากมาน้อย ในการศึกษานี้พบว่า มี VTE ในมะเร็งมีระยะแพร่กระจาย มีก้อนลุกลามเฉพาะที่ที่มาก ดื้อต่อการรักษา และมีการกลับเป็นซ้ำใหม่เป็นจำนวนมาก พยาธิวิทยาของชิ้นเนื้อมะเร็งที่พบมากที่สุด คือ Adenocarcinoma ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยจะมี VTE พร้อมๆ กับการตรวจพบโรคมะเร็ง จำนวนที่เหลือจะพบภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน หลังการตรวจพบโรคมะเร็งในเวลาเฉลี่ย 13.3 เดือน พบความสัมพันธ์ของตำแหน่งของหลอดเลือดที่ผิดปกติกับตำแหน่งก้อนทูม และการใส่ PORT implantation หลังจากมี VTE แล้ว ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาเฉลี่ย 22.3 เดือน โดยรวมพบว่าเพศหญิงจะรอดชีวิตดีกว่าผู้ชาย (p = 0.0123) รวมทั้งชนิดของโรคมะเร็งที่มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่จะพบมีการรอดชีวิตดีกว่า (p < 0.001) ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาหลอดเลือดดำอุดตัน หนึ่งในสามของผู้ป่วยจะมีเลือดออกผิดปกติ โตยเป็นจาก warfarin และร้อยละ 60 จะเกิดภายในหนึ่งเดือนหลังให้ยาแล้ว สรุปการศึกษา: ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งที่มี VTE จะมีการพยากรณ์โรคที่ไม่ดี และพบในมะเร็งที่มีระยะแพร่กระจาย และไม่ตอบสนองต่อการรักษา อย่างไรก็ตาม การรักษา VTE ด้วย Warfarin อาจทำให้มีภาวะเลือดออกผิดปกติได้ แต่การศึกษานี้ยังมีจำนวนน้อยจึงต้องทำการศึกษาต่อไป เพื่อที่จะได้ข้อมูลที่มากขึ้น
บทนำ: Venous Thromboembolism (VTE) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยและสำคัญของโรคมะเร็ง หลายการศึกษาก่อนหน้านี้ แสดงว่าโรคมะเร็งก็เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิด VTE ซึ่งจะก่อให้เกิดผลกระทบมากมายในผู้ป่วยมะเร็งเองการรักษาและพยากรณ์โรค วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาลักษณะทางคลินิกของโรค การรักษา และผลการรักษาของผู้ป่วยโรคมะเร็งก้อนทูมที่มีผลต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน และลักษณะทางคลินิกที่เป็นไป วิธีการวิจัย: ได้ศึกษาย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยในโรคมะเร็งก้อนทูมที่ไม่รวมมะเร็งทางนรีวชใน รพ.รามาธิบดี ที่มีภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน ตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 ถึง 28 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยเก็บข้อมูลชนิดโรคมะเร็ง ระยะโรค การรักษา การดำเนินโรค และการเกิดภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน ลักษณะทางคลินิก และความเสี่ยงอื่นๆ ที่เคยมีรายงานว่ามีความสัมพันธ์ร่วมด้วย รวมทั้งการใช้ยารักษาภาวะดังกล่าว และผลแทรกซ้อน ผลการศึกษา: พบว่ามีผู้ป่วยมะเร็งในการศึกษา 178 ราย เป็นชายหญิงอย่างละเท่าๆ กัน อายุเฉลี่ย 58.77 ปี เกิดในมะเร็งปอด ลำไส้ใหญ่ เต้านม และตับกับทางเดินน้ำดี เป็นห้าอันดับแรก จากมากมาน้อย ในการศึกษานี้พบว่า มี VTE ในมะเร็งมีระยะแพร่กระจาย มีก้อนลุกลามเฉพาะที่ที่มาก ดื้อต่อการรักษา และมีการกลับเป็นซ้ำใหม่เป็นจำนวนมาก พยาธิวิทยาของชิ้นเนื้อมะเร็งที่พบมากที่สุด คือ Adenocarcinoma ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยจะมี VTE พร้อมๆ กับการตรวจพบโรคมะเร็ง จำนวนที่เหลือจะพบภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน หลังการตรวจพบโรคมะเร็งในเวลาเฉลี่ย 13.3 เดือน พบความสัมพันธ์ของตำแหน่งของหลอดเลือดที่ผิดปกติกับตำแหน่งก้อนทูม และการใส่ PORT implantation หลังจากมี VTE แล้ว ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาเฉลี่ย 22.3 เดือน โดยรวมพบว่าเพศหญิงจะรอดชีวิตดีกว่าผู้ชาย (p = 0.0123) รวมทั้งชนิดของโรคมะเร็งที่มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่จะพบมีการรอดชีวิตดีกว่า (p < 0.001) ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาหลอดเลือดดำอุดตัน หนึ่งในสามของผู้ป่วยจะมีเลือดออกผิดปกติ โตยเป็นจาก warfarin และร้อยละ 60 จะเกิดภายในหนึ่งเดือนหลังให้ยาแล้ว สรุปการศึกษา: ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งที่มี VTE จะมีการพยากรณ์โรคที่ไม่ดี และพบในมะเร็งที่มีระยะแพร่กระจาย และไม่ตอบสนองต่อการรักษา อย่างไรก็ตาม การรักษา VTE ด้วย Warfarin อาจทำให้มีภาวะเลือดออกผิดปกติได้ แต่การศึกษานี้ยังมีจำนวนน้อยจึงต้องทำการศึกษาต่อไป เพื่อที่จะได้ข้อมูลที่มากขึ้น