Publication: Parenting styles, emotional intelligence, and intelligence quotients in Thai school-aged children in Tukdang community, Bangkok Metropolis
Issued Date
2008
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-1678
Rights
Mahidol university
Rights Holder(s)
Mahidol university
Bibliographic Citation
Journal of Public Health. Vol.38, No.1 (2008), 59-70
Suggested Citation
Panan Pichayapinyo, Arpaporn Pawwattana, Sulee Thongvichaen, ปาหนัน พิชยภิญโญ, อาภาพร เผ่าวัฒนา, สุลี ทองวิเชียร Parenting styles, emotional intelligence, and intelligence quotients in Thai school-aged children in Tukdang community, Bangkok Metropolis. Journal of Public Health. Vol.38, No.1 (2008), 59-70. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2538
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Parenting styles, emotional intelligence, and intelligence quotients in Thai school-aged children in Tukdang community, Bangkok Metropolis
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเลี้ยงดู ความฉลาดทางอารมณ์และระดับสติปัญญาในเด็กวัยเรียน ที่อาศัยในชุมชนตึกแดง กรุงเทพมหานคร
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
The purpose of the present study was to investigate the relationships among parenting style,
emotional intelligence, and intelligence quotients in Thai school aged children, Bangkok. Sixty-seven
parents or care takers and eighty-seven children randomly selected from Tukdang community were the
sample. Data were collected by four instruments-the Parenting Styles Questionnaires, the Emotional
Quotients Test, Raven’s Colored Progressive Matrices for children aged 6 to 9 years, and the
Standard Progressive Matrices for children aged 10 and over. Descriptive statistics and ANOVA
were performed to analyze the data. The finding of this study revealed that the protection style was
practiced by the majority of the parents followed by the authoritative style. Additionally, despite
the fact that statistically significant relationship was not found among factors, parents were
particularly important for child’s development in EI and IQ. Environment also appeared to
impact on their IQ and EI development. Further study to investigate the protection parenting
style and its effects in Thai population should be conducted. In order to develop EI and IQ for
children who lived in congested areas, interventions such as facilitators, including teachers,
and findings better environments should be attempted.
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเลี้ยงดู ความฉลาดทางอารมณ์ และระดับสติปัญญาในเด็กวัยเรียน กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยกลุ่มผู้ปกครองหรือผู้ดูแล 67 คน และกลุ่มเด็กวัยเรียน 87 คนที่อาศัยในชุมชนตึกแดง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามรูปแบบการเลี้ยงดูของ ผู้ปกครอง แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์สำหรับเด็กอายุ 6-11 ปี แบบคัดกรองพัฒนาการด้านสติปัญญาของ Raven ที่ชื่อว่า The Color Progressive Matrices สำหรับเด็กอายุ 6-9 ปี และ The Standard Progressive Matrices สำหรับเด็กอายุ 10 ปีขึ้นไป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรได้แก่ สถิติวิเคราะห์เชิงพรรณนา และสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) ผลการศึกษานี้พบว่าผู้ปกครองหรือผู้ดูแลส่วนใหญ่มีรูปแบบการเลี้ยงดูแบบให้ ความคุ้มครองตามด้วยรูปแบบ การเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าผลการศึกษาจะไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาแต่พบว่าผู้ ปกครองมีความสำคัญอย่างมากในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และระดับสติปัญญาของเด็ก และยังพบอีกว่าสิ่งแวดล้อมนั้นมีผลต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และระดับสติปัญญาเช่นกัน ซึ่งการศึกษาในครั้งต่อไปนั้นควรมีการศึกษารูปแบบการเลี้ยงดูแบบให้ความคุ้มครองและผลกระทบของรูปแบบนี้เพิ่มขึ้นในประชากรไทย และรูปแบบการพยาบาลที่ควรกระทำเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และระดับสติปัญญา สำหรับเด็กที่อาศัยในชุมชนแออัด ได้แก่ การจัดสิ่งเอื้ออำนวยทางด้านครูผู้ดูแลและจัดสิ่งแวดล้อมที่ดี เป็นต้น
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเลี้ยงดู ความฉลาดทางอารมณ์ และระดับสติปัญญาในเด็กวัยเรียน กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยกลุ่มผู้ปกครองหรือผู้ดูแล 67 คน และกลุ่มเด็กวัยเรียน 87 คนที่อาศัยในชุมชนตึกแดง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามรูปแบบการเลี้ยงดูของ ผู้ปกครอง แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์สำหรับเด็กอายุ 6-11 ปี แบบคัดกรองพัฒนาการด้านสติปัญญาของ Raven ที่ชื่อว่า The Color Progressive Matrices สำหรับเด็กอายุ 6-9 ปี และ The Standard Progressive Matrices สำหรับเด็กอายุ 10 ปีขึ้นไป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรได้แก่ สถิติวิเคราะห์เชิงพรรณนา และสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) ผลการศึกษานี้พบว่าผู้ปกครองหรือผู้ดูแลส่วนใหญ่มีรูปแบบการเลี้ยงดูแบบให้ ความคุ้มครองตามด้วยรูปแบบ การเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าผลการศึกษาจะไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาแต่พบว่าผู้ ปกครองมีความสำคัญอย่างมากในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และระดับสติปัญญาของเด็ก และยังพบอีกว่าสิ่งแวดล้อมนั้นมีผลต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และระดับสติปัญญาเช่นกัน ซึ่งการศึกษาในครั้งต่อไปนั้นควรมีการศึกษารูปแบบการเลี้ยงดูแบบให้ความคุ้มครองและผลกระทบของรูปแบบนี้เพิ่มขึ้นในประชากรไทย และรูปแบบการพยาบาลที่ควรกระทำเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และระดับสติปัญญา สำหรับเด็กที่อาศัยในชุมชนแออัด ได้แก่ การจัดสิ่งเอื้ออำนวยทางด้านครูผู้ดูแลและจัดสิ่งแวดล้อมที่ดี เป็นต้น
Sponsorship
CMB Funding from Faculty of Public Health, Mahidol University