Publication: ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ การบริหารจัดการทางการเงิน การบริหารจัดการองค์กร และประสิทธิผลการบริหารงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา: กรณีศึกษา กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2564
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
tha
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1513-8429
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
Call No.
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
item.page.oaire.edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Physical Location
Bibliographic Citation
วารสารสหศาสตร์. ปีที่ 21, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), 238-253
Citation
จุฑามาศ พูลมี, ศิริพร แย้มนิล, กมลพร สอนศรี, กฤษณ์ รักชาติเจริญ, Juthamas Poonmee, Siriporn Yamnill, Gamolporn Sonsri, Krish Rugchatjaroen (2564). ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ การบริหารจัดการทางการเงิน การบริหารจัดการองค์กร และประสิทธิผลการบริหารงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา: กรณีศึกษา กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79948.
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ การบริหารจัดการทางการเงิน การบริหารจัดการองค์กร และประสิทธิผลการบริหารงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา: กรณีศึกษา กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ
Alternative Title(s)
The Relationship Between Knowledge, Financial Management,Organizational Administration, and Effectiveness of Integrated Budget Management of Higher Education Institutions: A Case Study of Rajabhat University Group
Author's Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor's Affiliation
Corresponding Author(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ การบริหารจัดการทางการเงิน การบริหารจัดการองค์กร และประสิทธิผลการบริหารงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยนี้ คือ หน่วยงานของรัฐ ที่เกี่ยวข้องในการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ สามารถนำข้อมูลวิจัยมาใช้ส่งเสริมให้เกิดการสร้างความรู้ความเข้าใจกับหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนได้อย่างถูกต้อง ตระหนักถึงความสำคัญและพร้อมเข้าร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้สอดคล้องและเป็นไปในกรอบทิศทางเดียวกัน สถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แห่ง นำผลวิจัยมาปรับปรุงการปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด และผลสัมฤทธิ์ที่ได้สามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์และนโยบายสำคัญของรัฐบาลต่อไปให้เกิดเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น และหน่วยงานอื่นๆ สามารถนำผลวิจัยไปประยุกต์ใช้ในการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของประเทศ ในศตวรรษที่ 21 ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัลแบบก้าวกระโดด ตลอดจนรองรับผลกระทบจากพลวัตของกระบวนการโลกาภิวัตน์ เพื่อให้สามารถปรับตัวได้ทันต่อสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
The purpose of this research to study the relationship between knowledge,financial management, and organizational administration, and effectiveness integrated budget management. This research aimed to be a tool for government institutions which involve in the integrated budget management, to build a better understanding with their partnership and lead all stakeholders to reach the same strategic goal. It is also intended to be a ground for 38 higher education institutions and Rajabhat Universities to build on in order to drive national strategies and government policy to create tangible result. Other institutions are also able to apply the research finding to prepare for the changes in the 21st century, as well as fast technological advancement and globalization, in order to be adaptive to the dynamic situation.
The purpose of this research to study the relationship between knowledge,financial management, and organizational administration, and effectiveness integrated budget management. This research aimed to be a tool for government institutions which involve in the integrated budget management, to build a better understanding with their partnership and lead all stakeholders to reach the same strategic goal. It is also intended to be a ground for 38 higher education institutions and Rajabhat Universities to build on in order to drive national strategies and government policy to create tangible result. Other institutions are also able to apply the research finding to prepare for the changes in the 21st century, as well as fast technological advancement and globalization, in order to be adaptive to the dynamic situation.