Publication:
การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่เป็นความสัมพันธ์ทำให้เกิดอุบัติเหตุ ในบุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จากเข็มทิ่มตำและของมีคมบาด

dc.contributor.authorศศิกานต์ แก้วยอด
dc.contributor.authorอัมรินทร์ คงทวีเลิศ
dc.contributor.authorจุฑาธิป ศีลบุตร
dc.contributor.authorSasikan Keawyod
dc.contributor.authorAmarin Kongtawelert
dc.contributor.authorJutatip Sillabutra
dc.date.accessioned2025-04-09T07:35:53Z
dc.date.available2025-04-09T07:35:53Z
dc.date.created2568-04-09
dc.date.issued2568
dc.description.abstractการวิจัย Cross-sectional study นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและอธิบายปัจจัยที่เป็นความสัมพันธ์ด้านบุคคล อุปกรณ์ และสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุเข็มทิ่มตำและของมีคมบาดในบุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ใช้รูปแบบ โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการแพทย์ 7 ตำแหน่งงาน จำนวน 301 คน ใช้แบบสอบถามออนไลน์ Google Form และดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและ Chi – square test และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS Version 18 ผลการวิจัยพบว่า ตำแหน่งงานที่ถูกเข็มทิ่มตำและของมีคมมากที่สุด คือ พยาบาล เกิดเหตุบ่อยที่สุดที่หอผู้ป่วยใน และเกิดเหตุที่นิ้วชี้ข้างซ้ายมากที่สุด ทั้งนี้ ปัจจัยเรื่องตำแหน่งงาน เพศ อายุ ประสบการณ์ในการทำงาน และระดับการศึกษา ไม่ได้ส่งผลต่อการเกิดอุบัติเหตุเข็มทิ่มตำแหละของมีคมบาด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) สรุปได้ว่า ปัจจัยด้านบุคคล อุปกรณ์ และสิ่งแวดล้อม เป็นเรื่องที่สำคัญต่อการทำงาน ดังนั้น การจัดหาอุปกรณ์ในการทำงาน การทำให้สภาพแวดล้อมในการทำงานเหมาะสม การจัดโครงการเพื่อลดความเครียด รวมไปถึงการส่งเสริมปัจจัยด้านบุคคลให้เพิ่มทักษะ เพิ่มความรู้ และลดความเครียดจากการทำงาน จะส่งผลให้บุคลากรลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุเข็มทิ่มตำและของมีคมบาดจากการทำงาน
dc.description.abstractMost of the healthcare workers’ injuries in hospitals involve the use of needlestick and sharps objects. Therefore, the objective of this research was to study and explain the factors including personnel, equipment and environment that affect injuries of the healthcare workers in Chulabhorn hospital. Using a. cross-sectional study research model, a sample group of 301 healthcare workers in 7 job positions were recruited. Data were collected by using online Google Form questionnaires. Analysis conducted for descriptive statistics. Chi-square test was employed to test research hypotheses. Data analysis was conducted with the SPSS Version 18 package. The results of this research found that most of the job positions at risks for needles and sharp injuries are nurses. The most common occurrence is in the inpatient ward. And the event occurred most with the left index finger. Factors that are not affect accidents include job position, gender, age, work experience and education level, with statistically significant (p<0.05). In conclusion, it can be concluded that the following factors: people, equipment, and the environment are important to work. Providing appropriate equipment for work; suitable working environment; providing stress relief program for employees; and promote leisure and health care policies to reduce the risk of accidents among healthcare worker as much as possible. This will result in less risks for accidents, caused by needle sticks and sharp injuries at work.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 11, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2568), 1-16
dc.identifier.issn2697-6285 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/109398
dc.language.isotha
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectเข็มทิ่มตำ
dc.subjectของมีคมบาด
dc.subjectอุบัติเหตุ
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์
dc.subjectNeedlestick
dc.subjectSharp Injuries
dc.subjectAccidents
dc.subjectHealthcare workers
dc.titleการวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่เป็นความสัมพันธ์ทำให้เกิดอุบัติเหตุ ในบุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จากเข็มทิ่มตำและของมีคมบาด
dc.title.alternativeAn Analysis of Relation factors causing healthcare workers in Chulabhorn hospital by Needlestick and sharps injuries
dc.typeOriginal Article
dcterms.accessRightsopen access
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so05.tci-thaijo.org/index.php/journal_law/article/view/274681/185087
oaire.citation.endPage16
oaire.citation.issue1
oaire.citation.startPage1
oaire.citation.titleวารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข
oaire.citation.volume11
oaire.versionAccepted Manuscript
oairecerif.author.affiliationมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
ph-ar-amarin-2568.pdf
Size:
4.07 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

Collections