Publication: บทบาทพยาบาลกับผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง
dc.contributor.author | พรรณิภา สืบสุข | en_US |
dc.contributor.author | Pannipa Suebsuk | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-01-11T17:39:46Z | |
dc.date.available | 2018-01-11T17:39:46Z | |
dc.date.created | 2018-01-11 | |
dc.date.issued | 2011 | |
dc.description.abstract | โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเป็นภาวะที่ระบบทางเดินหายใจมีการอุดกั้นของทางเดินหายใจอย่างถาวร โดยสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการสูบบุหรี่ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงภายในหลอดลมหรือในเนื้อปอดทำให้หลอดลมตีบแคบลงการดำเนินของโรคจะค่อยๆ เลวลงโดยไม่กลับคืนสู่สภาพปกติผู้ป่วยมีอาการ ไอ หายใจลำบาก หอบเหนื่อย มีเสมหะ และอาจมีอาการของโรคกำเริบหรือมีภาวะแทรกซ้อนซึ่งทำให้ผู้ป่วยต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลบ่อยครั้งส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุขและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นในการสูญเสียค่าใช้จ่ายจำนวนมาก การรักษาและการป้องกันเป็นแนวทางปฏิบัติที่ต้องกระทำควบคู่กัน พยาบาลมีบทบาทเป็นผู้ช่วยเหลือผู้ป่วยให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติ ตัวที่ถูกต้องแนะนำการปรับรูปแบบการดำเนินชีวิต เช่น การงดสูบบุหรี่ การออกกำลังกายและการพักผ่อนอย่างเพียงพอ นอกจากนี้พยาบาลยังมี บทบาทเป็นผู้บริหารจัดการในการวางแผนและดำเนินการช่วยเหลือผู้ป่วยและเป็นผู้ร่วมทีมสุขภาพในการดูแลผู้ป่วย รวมทั้งเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการกำเริบของโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดและสมรรถภาพทางกาย ตลอดจนการส่งเสริมให้ผู้ป่วยเห็นคุณค่าในตนเองการสนับสนุนของครอบครัว เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วย พยาบาลจะเป็นผู้ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวและส่งเสริมให้ผู้ป่วยดำเนินกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองได้อย่างมีความสุข | en_US |
dc.description.abstract | Chronic obstructive pulmonary disease (COPD) is characterized by airflow obstruction due to a combination of damage to the airways and lung tissue. COPD is a slow progressive disease and not fully reversible. Patients usually present with symptoms of chronic cough, dyspnea, chronic sputum production, and acute exacerbation. The predominant cause of COPD is smoking. COPD is a public health problem that causes a lot of expense. Treatment and prevention practices must be made concurrently. Nurses have a significant role in COPD management by helping improve quality of life and daily activities of living such as helping patients to stop smoking, regular exercise and sufficient sleep. Nurses also play a role in prevention or exacerbation of disease through pulmonary rehabilitation and physical fitness. Educational roles, including health promotion for self-esteem, social support and general well-being, are also key areas for nursing involved in COPD | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29, ฉบับที่ 2 (เม.ย - มิ.ย. 2544), 18-26 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3328 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | ปอดอุดกั้นเรื้อรัง | en_US |
dc.subject | บทบาทพยาบาล | en_US |
dc.subject | การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด | en_US |
dc.subject | วารสารพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.subject | Open Access article | en_US |
dc.subject | Journal of Nursing Science | en_US |
dc.title | บทบาทพยาบาลกับผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง | en_US |
dc.title.alternative | The Role of Nurses in Chronic Obstructive Pulmonary Disease | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/714 |