Publication: Prevalences of Abnormal Maternal TPO-Antibodies and TSH Levels of Thai Pregnant Women in Ramathibodi Hospital
Issued Date
2010
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Pathology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 33, No. 1 (Jan-Mar 2010), 19-25
Suggested Citation
Kim Wongcharoenrat, Suwanee Janumpakul, Karan Paisooksantivatana, Boonsri Chanrachakul, Kalayanee Khupulsup, ฆิม วงเจริญรัตน์, สุวรรณี จานัมภากุล, การันต์ ไพสุขศานติวัฒนา, บุญศรี จันทร์รัชชกูล, กัลยาณี คูพูลทรัพย์ Prevalences of Abnormal Maternal TPO-Antibodies and TSH Levels of Thai Pregnant Women in Ramathibodi Hospital. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 33, No. 1 (Jan-Mar 2010), 19-25. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79851
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Prevalences of Abnormal Maternal TPO-Antibodies and TSH Levels of Thai Pregnant Women in Ramathibodi Hospital
Alternative Title(s)
ความชุกของความผิดปกติของระดับ TPO-Antibodies และ TSH ในหญิงตั้งครรภ์ในโรงพยาบาลรามาธิบดี
Abstract
Background: Abnormal maternal thyroid function during pregnancy is associated with adverse affect to the maternal health and child development. Elevated serum thyroid stimulating hormone (TSH) in pregnant women is associated with impaired neuropsychiatric development of the child. Presence of thyroid peroxidase antibodies (TPO-Ab) is a significant risk factor for maternal postpartum thyroid disease.
Objective: This study was to determine prevalences of abnormal TSH and TPO-Ab in Thai pregnancies.
Method: Serum sample were obtained from 480 pregnant women as a part of their routine antenatal screening at Ramathibodi Hospital during August and October 2008. Measurement of TSH and TPO-Ab was done using Chemiluminescent Microparticle Immunoassay.
Results: The prevalences of abnormal TSH and TPO-Ab in Thai pregnancies were 9.79% and 13.96%, respectively. The highest frequency was found in 30.34 year-old age group. TSH abnormality was significantly associated with gestational age (P = 0.037). Abnormal TSH levels were mostly in first trimester of pregnancies.
Conclusion: Since abnormal thyroid function is common in Thai pregnancies, maternal screening of TSH and TPO-Ab should be considered.
บทนำ: ความผิดปกติของการทำงานของต่อมธัยรอยด์ในหญิงตั้งครรภ์เป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อสุขภาพของทั้งมารดาและพัฒนาการของเด็ก มีรายงานความสัมพันธ์ระหว่างความผิดปกติของการพัฒนาการทางด้าน neuropsychiatric ในเด็กที่เกิดจากแม่ที่มีระดับ thyroid stimulating hormone (TSH) สูงระหว่างตั้งครรภ์ นอกจากนี้ระดับ thyroid peroxidase antibodies (TPO-Ab) ที่สูงในหญิงตั้งครรภ์ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของการเกิดภาวะบกพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมนหลังคลอด วัตถุประสงค์: เพื่อหาความชุกของความผิดปกติของระดับ TSH และ TPO-Ab ในหญิงตั้งครรภ์ชาวไทย วิธีการศึกษา: ในการศึกษานี้ได้ทำการตรวจระดับของ TSH และ TPO-Ab โดยวิธี Chemiluminescent Microparticle Immunoassay ในผู้หญิงตั้งครรภ์ชาวไทยที่สุขภาพแข็งแรงและไม่มีประวัติโรคธัยรอยด์ (อยู่ในภาวะ euthyroid state) ที่มาฝากครรภ์ที่ภาควิชาสติ-นรีเวช คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 480 ราย ผลการศึกษา: ความชุกของความผิดปกติของระดับ TSH และ TPO-Ab ในหญิงตั้งครรภ์ชาวไทยคิดเป็นร้อยละ 9.79 และร้อยละ 13.96 ตามลำดับ โดยพบความชุกสูงสุดในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุ 30 – 34 ปี และพบว่าความชุกของความผิดปกติของ TSH นั้น เพิ่มขึ้นในกลุ่มที่อายุครรภ์มากขึ้น (P = 0.037) สรุป: ความผิดปกติของการทำงานของต่อมธัยรอยด์เป็นปัญหาสำคัญทั้งในด้านผลต่อสุขภาพและขนาดของปัญหาในกลุ่มประชากรหญิงตั้งครรภ์ชาวไทย ดังนั้น จึงควรจัดให้มีการคัดกรองความผิดปกติดังกล่าวในกลุ่มตั้งครรภ์ทุกราย
บทนำ: ความผิดปกติของการทำงานของต่อมธัยรอยด์ในหญิงตั้งครรภ์เป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อสุขภาพของทั้งมารดาและพัฒนาการของเด็ก มีรายงานความสัมพันธ์ระหว่างความผิดปกติของการพัฒนาการทางด้าน neuropsychiatric ในเด็กที่เกิดจากแม่ที่มีระดับ thyroid stimulating hormone (TSH) สูงระหว่างตั้งครรภ์ นอกจากนี้ระดับ thyroid peroxidase antibodies (TPO-Ab) ที่สูงในหญิงตั้งครรภ์ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของการเกิดภาวะบกพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมนหลังคลอด วัตถุประสงค์: เพื่อหาความชุกของความผิดปกติของระดับ TSH และ TPO-Ab ในหญิงตั้งครรภ์ชาวไทย วิธีการศึกษา: ในการศึกษานี้ได้ทำการตรวจระดับของ TSH และ TPO-Ab โดยวิธี Chemiluminescent Microparticle Immunoassay ในผู้หญิงตั้งครรภ์ชาวไทยที่สุขภาพแข็งแรงและไม่มีประวัติโรคธัยรอยด์ (อยู่ในภาวะ euthyroid state) ที่มาฝากครรภ์ที่ภาควิชาสติ-นรีเวช คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 480 ราย ผลการศึกษา: ความชุกของความผิดปกติของระดับ TSH และ TPO-Ab ในหญิงตั้งครรภ์ชาวไทยคิดเป็นร้อยละ 9.79 และร้อยละ 13.96 ตามลำดับ โดยพบความชุกสูงสุดในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุ 30 – 34 ปี และพบว่าความชุกของความผิดปกติของ TSH นั้น เพิ่มขึ้นในกลุ่มที่อายุครรภ์มากขึ้น (P = 0.037) สรุป: ความผิดปกติของการทำงานของต่อมธัยรอยด์เป็นปัญหาสำคัญทั้งในด้านผลต่อสุขภาพและขนาดของปัญหาในกลุ่มประชากรหญิงตั้งครรภ์ชาวไทย ดังนั้น จึงควรจัดให้มีการคัดกรองความผิดปกติดังกล่าวในกลุ่มตั้งครรภ์ทุกราย