Publication: Development of Crime Scene Investigation in Maputo city, Mozambique
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
ISSN
1513-8429
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Social Sciences Faculty of Social Sciences and Humanities Mahidol University
Bibliographic Citation
Interdisciplinary Studies Journal. Vol. 18 No. 2 (Jul-Dec 2018), 238-256
Suggested Citation
Arsenio Nataniel Macamo Development of Crime Scene Investigation in Maputo city, Mozambique. Interdisciplinary Studies Journal. Vol. 18 No. 2 (Jul-Dec 2018), 238-256. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72029
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Development of Crime Scene Investigation in Maputo city, Mozambique
Alternative Title(s)
การพัฒนาการตรวจสถานที่เกิดเหตุในเมืองมาปูโต ประเทศโมซัมบิก
Author(s)
Abstract
This study aimed at developing crime scene investigation through examination and collection of forensic evidences. Twenty-six crime investigators, having more than five years of experiences working in National Criminal Investigation Service in Maputo city, were selected as key informants. A qualitative research design, in-depth interview and observation, was conducted for collecting data. The findings revealed that the main problem was having less knowledge of forensic science in criminal investigation process of examining, collecting and labeling forensic evidences to link with the suspect, victim and crime scene, thereby giving importance to witness evidences to prove the guilt in court rather than forensic evidence that are reliable when properly interpreted. The obstacle factors found during the process of crime scene investigation were lack of modern forensic technology and budget for investigative services. Therefore, the results suggest that in order to improve forensic evidence for crime investigation, knowledge in the field of forensic sciences and budget for crime scene investigation development be provided to stablish probative value of forensic evidences in the court.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการตรวจสถานที่เกิดเหตุผ่านการพิจารณาและเก็บรวมรวมหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ พนักงานสอบสวนที่มีประสบการณ์การทำงานในกรมสอบสวนคดีอย่างน้อยห้าปีขึ้นไปจำนวน 26 คนได้เข้าร่วมให้ข้อมูลในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการสังเกตเพื่อเก็บข้อมูลวิจัย ผลปรากฏว่าพนักงานสอบสวนขาดความรู้เรื่องนิติวิทยาศาสตร์ตั้งแต่กระบวนการสอบสวน การเก็บรวบรวมและระบุหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์เพื่อเชื่อมโยงกับผู้ต้องสงสัย เหยื่อ และสถานที่เกิดเหตุ กระบวนการสอบสวนให้ความสำคัญกับประจักษ์พยานเพื่อการพิสูจน์ความผิดในชั้นศาลมากกว่าการเก็บรวบรวมหลักฐานที่น่าเชื่อถือทางนิติวิทยาศาสตร์ อุปสรรคในกระบวนการสอบสวนคือการขาดแคลนเทคโนโลยีที่ทันสมัยและงบประมาณในการพัฒนาการสอบสวน ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมีข้อเสนอแนะให้พัฒนาความรู้เรื่องนิติวิทยาศาสตร์และเพิ่มงบประมาณในการพัฒนาการตรวจสถานที่เกิดเหตุเพื่อเพิ่มคุณค่าในเชิงพิสูจน์ต่อหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ในชั้นศาล
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการตรวจสถานที่เกิดเหตุผ่านการพิจารณาและเก็บรวมรวมหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ พนักงานสอบสวนที่มีประสบการณ์การทำงานในกรมสอบสวนคดีอย่างน้อยห้าปีขึ้นไปจำนวน 26 คนได้เข้าร่วมให้ข้อมูลในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการสังเกตเพื่อเก็บข้อมูลวิจัย ผลปรากฏว่าพนักงานสอบสวนขาดความรู้เรื่องนิติวิทยาศาสตร์ตั้งแต่กระบวนการสอบสวน การเก็บรวบรวมและระบุหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์เพื่อเชื่อมโยงกับผู้ต้องสงสัย เหยื่อ และสถานที่เกิดเหตุ กระบวนการสอบสวนให้ความสำคัญกับประจักษ์พยานเพื่อการพิสูจน์ความผิดในชั้นศาลมากกว่าการเก็บรวบรวมหลักฐานที่น่าเชื่อถือทางนิติวิทยาศาสตร์ อุปสรรคในกระบวนการสอบสวนคือการขาดแคลนเทคโนโลยีที่ทันสมัยและงบประมาณในการพัฒนาการสอบสวน ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมีข้อเสนอแนะให้พัฒนาความรู้เรื่องนิติวิทยาศาสตร์และเพิ่มงบประมาณในการพัฒนาการตรวจสถานที่เกิดเหตุเพื่อเพิ่มคุณค่าในเชิงพิสูจน์ต่อหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ในชั้นศาล