Publication: Nontraditional Biomarkers for Cardiovascular Disease in Patients With Chronic Kidney Disease
Issued Date
2020
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Hefei Institutes of Physical Science Chinese Academy of Sciences
Hefei Institutes of Physical Science Chinese Academy of Sciences
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 43, No. 2 (April-June 2020), 51-60
Suggested Citation
Ittikorn Spanuchart, Arkom Nongnuch, Youg Liu, อิทธิกร สภานุชาต, อาคม นงนุช, หย่ง หลิว Nontraditional Biomarkers for Cardiovascular Disease in Patients With Chronic Kidney Disease. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 43, No. 2 (April-June 2020), 51-60. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72237
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Nontraditional Biomarkers for Cardiovascular Disease in Patients With Chronic Kidney Disease
Abstract
Cardiovascular disease (CVD) is the leading cause of death among patients who have chronic kidney disease (CKD). Nowadays, CKD per se is considered one of the coronary heart disease (CHD) risk equivalents. Apart from traditional CVD risk factors, there are several possible determinants for CVD in patients with CKD, for example, uremic toxins, increased inflammatory stage, abnormal bone mineral metabolism, and positive calcium balance. In this narrative review, we offer a summary of the extensively studied biomarkers for CVD in patients with CKD, including uremic toxins (p-cresol, indoxyl sulfate, and advanced glycated end products), and a novel indicator of arterial stiffness, cardio-ankle vascular index (CAVI), which is an independent prognostic predictor for CVD. For the uremic toxins, we reviewed their metabolisms, particularly, how the reduced renal function in CKD patients affect their clearance and their clearance with dialysis. Also, we pay attention to the recent evidence on how those uremic toxins contribute to CVD and their clinical associations. We do not include the possible treatment targeting at those uremic toxins. As for the novel indicator of arterial stiffness, we reviewed the clinical application of CAVI in comparison to the standard indicator for arterial stiffness, pulse wave velocity.
โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ปัจจุบันโรคไตเรื้อรังนั้นถูกจัดเป็นหนึ่งในปัจจัยเทียบเท่าความเสี่ยงต่อโรคเส้นเลือดหัวใจ นอกเหนือจากปัจจัยดั้งเดิมต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดแล้ว ยังมีหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไข้ที่มีโรคไตเรื้อรัง เช่น สารพิษในเลือดสภาวะที่มีการเพิ่มขึ้นของการอักเสบ และ ความผิดปกติของระบบการควบคุมเกลือแร่และกระดูก รายงานการทบทวนบทความนี้ได้สรุปดัชนีชี้วัดทางชีวภาพต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดที่ได้มีการศึกษาอย่างแพร่หลาย ได้แก่ สารพิษในเลือด (P-cresol, Indoxyl sulfate, และ Advanced glycated end products) และตัววัดความแข็งของหลอดเลือดแดง (Cardio-ankle vascular index, CAVI) ซึ่งเป็นปัจจัยพยากรณ์การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยบทความนี้มุ่งเน้นไปที่ระบบการขับออกทางไตของสารพิษในเลือดดังกล่าวในคนไข้โรคไตเรื้อรัง และการกำจัดสารพิษด้วยการบำบัดไตทดแทน นอกจากนี้ บทความนี้ได้ทบทวนหลักฐานที่สารพิษในเลือดดังกล่าวสามารถส่งผลต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดและอาการทางคลินิก อย่างไรก็ตาม บทความนี้ไม่ได้ทบทวนการรักษาที่เกี่ยวข้องกับสารพิษในเลือด แต่เป็นการทบทวนการประยุกต์ใช้ทางคลินิกของตัววัดความแข็งของหลอดเลือดแดงเปรียบเทียบกับความเร็วคลื่นความดันเลือดแดง (Pulse wave velocity) ซึ่งเป็นตัววัดความแข็งของหลอดเลือดแดงมาตรฐาน
โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ปัจจุบันโรคไตเรื้อรังนั้นถูกจัดเป็นหนึ่งในปัจจัยเทียบเท่าความเสี่ยงต่อโรคเส้นเลือดหัวใจ นอกเหนือจากปัจจัยดั้งเดิมต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดแล้ว ยังมีหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในคนไข้ที่มีโรคไตเรื้อรัง เช่น สารพิษในเลือดสภาวะที่มีการเพิ่มขึ้นของการอักเสบ และ ความผิดปกติของระบบการควบคุมเกลือแร่และกระดูก รายงานการทบทวนบทความนี้ได้สรุปดัชนีชี้วัดทางชีวภาพต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดที่ได้มีการศึกษาอย่างแพร่หลาย ได้แก่ สารพิษในเลือด (P-cresol, Indoxyl sulfate, และ Advanced glycated end products) และตัววัดความแข็งของหลอดเลือดแดง (Cardio-ankle vascular index, CAVI) ซึ่งเป็นปัจจัยพยากรณ์การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยบทความนี้มุ่งเน้นไปที่ระบบการขับออกทางไตของสารพิษในเลือดดังกล่าวในคนไข้โรคไตเรื้อรัง และการกำจัดสารพิษด้วยการบำบัดไตทดแทน นอกจากนี้ บทความนี้ได้ทบทวนหลักฐานที่สารพิษในเลือดดังกล่าวสามารถส่งผลต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดและอาการทางคลินิก อย่างไรก็ตาม บทความนี้ไม่ได้ทบทวนการรักษาที่เกี่ยวข้องกับสารพิษในเลือด แต่เป็นการทบทวนการประยุกต์ใช้ทางคลินิกของตัววัดความแข็งของหลอดเลือดแดงเปรียบเทียบกับความเร็วคลื่นความดันเลือดแดง (Pulse wave velocity) ซึ่งเป็นตัววัดความแข็งของหลอดเลือดแดงมาตรฐาน