Publication: Screening of Cervical Cancer by Conventional Papanicolaou Smear and a Liquid-Based Thin-Layer (Thin Prep) Smear
Issued Date
2009
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 32, No. 4 (Oct-Dec 2009), 158-166
Suggested Citation
Aphinya Fuangkaew, Somsak Suthutvoravut, Sanya Patrachai, Vachira Singhakajen, อภิญญา เฟื่องแก้ว, สมศักดิ์ สุทัศน์วรวุฒิ, สัญญา ภัทราชัย, วชิระ สิงหะคเชนทร์ Screening of Cervical Cancer by Conventional Papanicolaou Smear and a Liquid-Based Thin-Layer (Thin Prep) Smear. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 32, No. 4 (Oct-Dec 2009), 158-166. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79901
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Screening of Cervical Cancer by Conventional Papanicolaou Smear and a Liquid-Based Thin-Layer (Thin Prep) Smear
Alternative Title(s)
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการทดสอบแพ็ปสามัญ และแพ็ปแผ่นบาง
Abstract
Objectives: To study the rate of cervical cancer screening in women and its results comparing between conventional Papanicolaou smear (Pap smear) method and Thin Prep smear method.
Material and Method: This is a descriptive study that analysis of the women who visited the gynecological out patient department (OPD) clinic of a private hospital in Bangkok, Thailand. The cervical cancer screening was done by conventional Papanicolaou smear (Pap smear) or Thin Prep smear. The rate of screening and results of abnormal findings were reported. Data was collected from gynecological OPD medical records during April to December, 2007.
Results: The results showed that among 5,943 women who came to a gynecological OPD clinic, 59.7%, (95% CI = 58.4, 60.9) were screened for cervical cancer, abnormalities were found in 31 women, 0.87%, (95%CI = 0.57, 1.18). The cervical cancer screening by Thin Prep found 5.8 times more abnormalities than by Pap smear (p < 0.05). Abnormalities were found by Thin Prep in 26 cases (1.56%) compared to 5 cases (0.27%) by Pap smear. Eighty percent of abnormal Pap smear results correlated with pathological diagnoses (4 out of 5 cases) compared to 77% (17 out of 22 cases) of Thin Prep. Significant factors associated with cervical cancer screening were age, occupation, marital status, number of living children and residence. Significant factors associated with the screening method were age, occupation, marital status and number of living children (p < 0.05).
Conclusion: The rate of cervical cancer screening in private hospitals was still less than expected. The Thin Prep smear method found more abnormal cervical cells than the Pap smear method but with comparable accuracy. This study could be useful in order to encourage a more appropriate screening method for women.
ปัจจุบันมีวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกได้หลายวิธี การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีที่มาตรวจทางนเวชในโรงพยาบาลเอกชน ผลการตรวจพบเซลล์ผิดปกติ ด้วยวิธี Pap smear และThin Prep ปัจจัยความสัมพันธ์ต่อการตรวจ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา เก็บข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลการตรวจมะเร็งปากมดลูก ระหว่างเดือนเมษายน-ธันวาคม ปี พ.ศ. 2550 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ จำนวน อัตรา ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติ Chi-square test, Z-Test ทดสอบความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p < 0.05 การศึกษาพบว่า สตรีที่มาตรวจ จำนวน 5,943 รายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในอัตราร้อยละ 59.7 (3,545 ราย) พบเซลล์ผิดปกติโดยวิธี Thin Prep ร้อยละ 1.56 และวิธี Pap smear ร้อยละ 0.27 ผลการตรวจด้วยวิธี Pap smear สอดคล้องกับผลการตรวจชิ้นเนื้อทางพยาธิ ร้อยละ 80 วิธี Thin Prep สอดคล้องร้อยละ 77.3 การตรวจด้วยวิธี Thin prep พบเชลล์ผิดปกติมากกว่าวิธี Pap smear 5.8 เท่า (p < 0.05) ตัวแปรด้านอายุ อาชีพ สถานภาพสมรส จำนวนบุตร เขตที่อยู่ มีความสัมพันธ์ต่อการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ตัวแปรด้านอายุ อาชีพ สถานภาพสมรส และจำนวนบุตรมีความสัมพันธ์ต่อวิธีการตรวจ (p < 0.05) โดยสรุป สตรีที่มาตรวจทางนรีเวชในโรงพยาบาลเอกชนยังได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในอัตราที่น้อยกว่าที่ควรจะเป็น กรตรวจด้วยวิธี Thin Pep มีโอกาสตรวจพบเซลล์ผิดปกติมากกว่าวิธี Pap smear
ปัจจุบันมีวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกได้หลายวิธี การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีที่มาตรวจทางนเวชในโรงพยาบาลเอกชน ผลการตรวจพบเซลล์ผิดปกติ ด้วยวิธี Pap smear และThin Prep ปัจจัยความสัมพันธ์ต่อการตรวจ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา เก็บข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลการตรวจมะเร็งปากมดลูก ระหว่างเดือนเมษายน-ธันวาคม ปี พ.ศ. 2550 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ จำนวน อัตรา ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติ Chi-square test, Z-Test ทดสอบความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p < 0.05 การศึกษาพบว่า สตรีที่มาตรวจ จำนวน 5,943 รายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในอัตราร้อยละ 59.7 (3,545 ราย) พบเซลล์ผิดปกติโดยวิธี Thin Prep ร้อยละ 1.56 และวิธี Pap smear ร้อยละ 0.27 ผลการตรวจด้วยวิธี Pap smear สอดคล้องกับผลการตรวจชิ้นเนื้อทางพยาธิ ร้อยละ 80 วิธี Thin Prep สอดคล้องร้อยละ 77.3 การตรวจด้วยวิธี Thin prep พบเชลล์ผิดปกติมากกว่าวิธี Pap smear 5.8 เท่า (p < 0.05) ตัวแปรด้านอายุ อาชีพ สถานภาพสมรส จำนวนบุตร เขตที่อยู่ มีความสัมพันธ์ต่อการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ตัวแปรด้านอายุ อาชีพ สถานภาพสมรส และจำนวนบุตรมีความสัมพันธ์ต่อวิธีการตรวจ (p < 0.05) โดยสรุป สตรีที่มาตรวจทางนรีเวชในโรงพยาบาลเอกชนยังได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในอัตราที่น้อยกว่าที่ควรจะเป็น กรตรวจด้วยวิธี Thin Pep มีโอกาสตรวจพบเซลล์ผิดปกติมากกว่าวิธี Pap smear