Publication: Association Between Uric Acid and Arterial Stiffness in General Adults: A Systematic Review and Meta-analysis
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Section for Clinical Epidemiology and Biostatistics Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Health and Diseases Control Unit Nay Pyi Taw,
Health and Diseases Control Unit Nay Pyi Taw,
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 2 (Apr-Jun 2018), 90-115
Suggested Citation
Yan Naung Win, Pawin Numthavaj, Ammarin Thakkinstian, ยาน หน่อง วิน, ปวิน นำธวัช, อัมรินทร์ ทักขิญเสถียร Association Between Uric Acid and Arterial Stiffness in General Adults: A Systematic Review and Meta-analysis. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 2 (Apr-Jun 2018), 90-115. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79516
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Association Between Uric Acid and Arterial Stiffness in General Adults: A Systematic Review and Meta-analysis
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างกรดยูริกและความแข็งของหลอดเลือดแดงในผู้ใหญ่: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมาน
Abstract
Background: Arterial stiffness (AS) was a surrogate marker of atherosclerosis and cardiovascular disease and may associate with serum uric acid (UA) level.
Objective: To systematically review the association between serum UA and AS.
Methods: Observational studies that studied the effect of serum UA level and AS in adult population were searched from MEDLINE and Scopus databases since inception to June 30, 2016. Mean differences (MDs) of serum UA level between AS groups and odds ratios of high vs low UA on AS measurement were estimated and pooled.
Results: A total of 61 studies met inclusion criteria, and 44 studies were pooled. Pooled MDs of serum UA between AS vs non-AS measured by carotid femoral pulse wave velocity (cfPWV) and brachial ankle pulse wave velocity (baPWV) in 7 and 5 studies were 0.76 (95% CI, 0.50 - 1.03) mg/dL and 0.58 (95% CI, 0.31 - 0.85) mg/dL, respectively. Three baPWV studies with the pooled odds ratio of high vs low serum UA on AS was 1.49 (95% CI, 1.25 - 1.78). Pooled MDs of AS among high vs low serum UA groups were 62.43 (95% CI, 46.97 - 77.88), 86.20 (95% CI, 35.40 - 136.99), and 32.69 (95% CI, 13.45 - 51.94) cm/s for cfPWV (10 studies), baPWV (4 studies), and carotid radial pulse wave velocity (crPWV) (4 studies), respectively. Pooling beta correlation coefficients of serum UA for AS for cfPWV and baPWV were 2.51 (95% CI, 2.26 - 2.76) and 3.75 (95% CI, 2.24 - 5.25), respectively.
Conclusions: Serum UA was statistically associated with AS measured by cfPWV, baPWV, and crPWV but poolings had high heterogeneity.
บทนำ: ความแข็งของหลอดเลือดแดงเป็นตัวแทนของการบ่งชี้โรคหลอดเลือดแดงแข็งและโรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งอาจสัมพันธ์กับระดับของกรดยูริกในเลือด วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบของความสัมพันธ์ระหว่างกรดยูริกในเลือดและความแข็งของหลอดเลือดแดง วิธีการศึกษา: คัดเลือกการศึกษาสังเกตที่ศึกษาผลของระดับกรดยูริกในเลือดและความแข็งของหลอดเลือดแดงในผู้ใหญ่จากฐานข้อมูล MEDLINE และ Scopus ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างระดับกรดยูริกในเลือดระหว่างกลุ่มผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงแข็งและค่า Odds ratio ของกรดยูริกในกลุ่มที่ได้ทำการตรวจวัดความแข็งของหลอดเลือดแดง ผลการศึกษา: งานวิจัยที่ผ่านเกณฑ์คัดเข้า จำนวนทั้งสิ้น 61 เรื่อง และมีจำนวน 44 เรื่อง ได้ถูกรวมค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรวมของกรดยูริกในกลุ่มผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงแข็งและกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีหลอดเลือดแดงแข็งจากการตรวจวัดด้วยวิธี Carotid - femoral pulse wave velocity (cfPWV) และ Brachial ankle pulse wave velocity (baPWV) ในงานวิจัยจำนวน 7 เรื่อง และ 5 เรื่อง เท่ากับ 0.76 (95% CI, 0.50 - 1.03) mg/dL และ 0.58 (95% CI, 0.31 - 0.85) mg/dL ตามลำดับ ค่า Odds ratio รวมของกลุ่มที่มีกรดยูริกสูงเปรียบเทียบกับกลุ่มที่มีกรดยูริกต่ำของงานวิจัยที่ตรวจวัดด้วยวิธี baPWV จำนวน 3 เรื่อง เท่ากับ 1.49 (95% CI, 1.25 - 1.78) ค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรวมของผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงแข็งกลุ่มที่มีกรดยูริกสูงเปรียบเทียบกับกลุ่มที่มีกรดยูริกต่ำของงานวิจัยที่ตรวจวัดด้วยวิธี cfPWV (10 เรื่อง), baPWV (4 เรื่อง) และ Carotid radial pulse wave velocity (crPWV) (4 เรื่อง) เท่ากับ 62.43 (95% CI, 46.94 - 77.88), 86.20 (95% CI, 35.40 - 136.99) และ 32.69 (95% CI, 13.45 - 51.94) cm/s ตามลำดับ ค่ารวมของค่าสัมประสิทธิ์เบต้าของกรดยูริกในผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงแข็งที่ตรวจวัดด้วยวิธี cfPWV และ baPWV เท่ากับ 2.51 (95% CI, 2.26 - 2.76) และ 3.75 (95% CI, 2.24 - 5.25) ตามลำดับ สรุป: ระดับของกรดยูริกมีความสัมพันธ์กับความแข็งของหลอดเลือดแดงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อตรวจวัดด้วยวิธี cfPWV, baPWV และ crPWV อย่างไรก็ตาม การรวบรวมมีความแตกต่างกันสูงระหว่างงานวิจัย
บทนำ: ความแข็งของหลอดเลือดแดงเป็นตัวแทนของการบ่งชี้โรคหลอดเลือดแดงแข็งและโรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งอาจสัมพันธ์กับระดับของกรดยูริกในเลือด วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบของความสัมพันธ์ระหว่างกรดยูริกในเลือดและความแข็งของหลอดเลือดแดง วิธีการศึกษา: คัดเลือกการศึกษาสังเกตที่ศึกษาผลของระดับกรดยูริกในเลือดและความแข็งของหลอดเลือดแดงในผู้ใหญ่จากฐานข้อมูล MEDLINE และ Scopus ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างระดับกรดยูริกในเลือดระหว่างกลุ่มผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงแข็งและค่า Odds ratio ของกรดยูริกในกลุ่มที่ได้ทำการตรวจวัดความแข็งของหลอดเลือดแดง ผลการศึกษา: งานวิจัยที่ผ่านเกณฑ์คัดเข้า จำนวนทั้งสิ้น 61 เรื่อง และมีจำนวน 44 เรื่อง ได้ถูกรวมค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรวมของกรดยูริกในกลุ่มผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงแข็งและกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีหลอดเลือดแดงแข็งจากการตรวจวัดด้วยวิธี Carotid - femoral pulse wave velocity (cfPWV) และ Brachial ankle pulse wave velocity (baPWV) ในงานวิจัยจำนวน 7 เรื่อง และ 5 เรื่อง เท่ากับ 0.76 (95% CI, 0.50 - 1.03) mg/dL และ 0.58 (95% CI, 0.31 - 0.85) mg/dL ตามลำดับ ค่า Odds ratio รวมของกลุ่มที่มีกรดยูริกสูงเปรียบเทียบกับกลุ่มที่มีกรดยูริกต่ำของงานวิจัยที่ตรวจวัดด้วยวิธี baPWV จำนวน 3 เรื่อง เท่ากับ 1.49 (95% CI, 1.25 - 1.78) ค่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรวมของผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงแข็งกลุ่มที่มีกรดยูริกสูงเปรียบเทียบกับกลุ่มที่มีกรดยูริกต่ำของงานวิจัยที่ตรวจวัดด้วยวิธี cfPWV (10 เรื่อง), baPWV (4 เรื่อง) และ Carotid radial pulse wave velocity (crPWV) (4 เรื่อง) เท่ากับ 62.43 (95% CI, 46.94 - 77.88), 86.20 (95% CI, 35.40 - 136.99) และ 32.69 (95% CI, 13.45 - 51.94) cm/s ตามลำดับ ค่ารวมของค่าสัมประสิทธิ์เบต้าของกรดยูริกในผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงแข็งที่ตรวจวัดด้วยวิธี cfPWV และ baPWV เท่ากับ 2.51 (95% CI, 2.26 - 2.76) และ 3.75 (95% CI, 2.24 - 5.25) ตามลำดับ สรุป: ระดับของกรดยูริกมีความสัมพันธ์กับความแข็งของหลอดเลือดแดงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อตรวจวัดด้วยวิธี cfPWV, baPWV และ crPWV อย่างไรก็ตาม การรวบรวมมีความแตกต่างกันสูงระหว่างงานวิจัย