Publication: การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเอกชนที่ดีในต่างประเทศ
Issued Date
2566
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
Journal Title
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ
Volume
10
Issue
1
Start Page
101
End Page
126
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
กองส่งเสริมการพัฒนาและสวัสดิการเด็ก เยาวชน และครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สมาคมนักสร้างสุขภาวะองค์กร
นักวิชาการอิสระ
สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
กองส่งเสริมการพัฒนาและสวัสดิการเด็ก เยาวชน และครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สมาคมนักสร้างสุขภาวะองค์กร
นักวิชาการอิสระ
Bibliographic Citation
วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 10, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2566), 101-126
Suggested Citation
ลภัสรดา จิตวารินทร์, อุทัยทิพย์ เจี่ยวิวรรธน์กุล, อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล, สุวิมล อุไกรษา, สุวิมล แสนเวียงจันทร์, พรปวีณ์ อุไรสวัสดิ์, ประพิมพ์พรรณ สุวรรณกูฏ, สุปราณี มอญดะ, สายรุ้ง ใจอิ่ม, ยุรฉัตร ชื่นม่วง, สิทธิพร กล้าแข็ง, ชาตรี ลุนดำ, Lapasrada Jitwarin, Uthaithip Jiawiwatku, Athiwat Jiawiwatkul, Suwimol Ukraisa, Suvimon Sanviengchan, Ponpawee Uraisawat, Prapimparn Suvarnakuta, Supranee Monda, Sairung Jaiim, Yurachat Chuenmuang, Sittiporn Klakhang, Chatree Lundam การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเอกชนที่ดีในต่างประเทศ. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 10, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2566), 101-126. 126. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/109444
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเอกชนที่ดีในต่างประเทศ
Alternative Title(s)
Best Practices in the Management of Private Early Childhood Care Centers in Foreign Countries
Author(s)
ลภัสรดา จิตวารินทร์
อุทัยทิพย์ เจี่ยวิวรรธน์กุล
อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล
สุวิมล อุไกรษา
สุวิมล แสนเวียงจันทร์
พรปวีณ์ อุไรสวัสดิ์
ประพิมพ์พรรณ สุวรรณกูฏ
สุปราณี มอญดะ
สายรุ้ง ใจอิ่ม
ยุรฉัตร ชื่นม่วง
สิทธิพร กล้าแข็ง
ชาตรี ลุนดำ
Lapasrada Jitwarin
Uthaithip Jiawiwatku
Athiwat Jiawiwatkul
Suwimol Ukraisa
Suvimon Sanviengchan
Ponpawee Uraisawat
Prapimparn Suvarnakuta
Supranee Monda
Sairung Jaiim
Yurachat Chuenmuang
Sittiporn Klakhang
Chatree Lundam
อุทัยทิพย์ เจี่ยวิวรรธน์กุล
อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล
สุวิมล อุไกรษา
สุวิมล แสนเวียงจันทร์
พรปวีณ์ อุไรสวัสดิ์
ประพิมพ์พรรณ สุวรรณกูฏ
สุปราณี มอญดะ
สายรุ้ง ใจอิ่ม
ยุรฉัตร ชื่นม่วง
สิทธิพร กล้าแข็ง
ชาตรี ลุนดำ
Lapasrada Jitwarin
Uthaithip Jiawiwatku
Athiwat Jiawiwatkul
Suwimol Ukraisa
Suvimon Sanviengchan
Ponpawee Uraisawat
Prapimparn Suvarnakuta
Supranee Monda
Sairung Jaiim
Yurachat Chuenmuang
Sittiporn Klakhang
Chatree Lundam
Author's Affiliation
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. คณะพยาบาลศาสตร์
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. กองส่งเสริมการพัฒนาและสวัสดิการเด็ก เยาวชน และครอบครัว
สมาคมนักสร้างสุขภาวะองค์กร
นักวิชาการอิสระ
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. คณะพยาบาลศาสตร์
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. กองส่งเสริมการพัฒนาและสวัสดิการเด็ก เยาวชน และครอบครัว
สมาคมนักสร้างสุขภาวะองค์กร
นักวิชาการอิสระ
Abstract
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์การบริหารจัดการที่ดีของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยภาคเอกชนต่างประเทศจาก 4 ทวีป ได้แก่ 1) ทวีปเอเชีย: ศึกษาจากประเทศสิงคโปร์ ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ 2) เขตโอเชียเนีย: ศึกษาจากประเทศนิวซีแลนด์ และออสเตรเลีย 3) ทวีปยุโรป: ศึกษาจากประเทศเนเธอร์แลนด์ ฟินแลนด์ และสหราชอาณาจักร 4) ทวีปอเมริกาเหนือ: ศึกษาจากประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา โดยใช้แหล่งข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจากหนังสือ วารสาร บทความวิจัย บทความวิชาการ นโยบาย ในรูปแบบสิ่งพิมพ์และสิ่งพิมพ์ออนไลน์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004 - 2021 รวมทั้งสิ้น 72 เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการสังเคราะห์ครั้งนี้ ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลที่ผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ ตลอดจนการวิเคราะห์เนื้อหา การสังเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผลการศึกษา พบว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเอกชนในต่างประเทศมีการบริหารจัดการที่ดีร่วมกันอยู่ 15 ประการ ได้แก่ 1) การบริหารจัดการองค์กรอย่างเป็นระบบ 2) การบริหารจัดการหลักสูตรอย่างเป็นระบบ 3) การบริหารจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบ 4) การบริหารจัดการบุคลากรอย่างเป็นระบบ 5) การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย 6) การจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการเรียนรู้ 7) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน 8) การดูแลและพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน 9) การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูและสุขภาพ 10) การส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษาและการสื่อสาร 11) การส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม ปลูกฝังคุณธรรมและความเป็นพลเมืองดี 12) การส่งเสริมเด็กในระยะเปลี่ยนผ่านให้ปรับตัวสู่การเชื่อมต่อในขั้นถัดไป 13) การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดี 14) การเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน และ 15) การจัดการความรู้ภายในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
This research article aimed to synthesize the best practices in the management of private early childhood care centers in foreign countries on 4 continents, namely 1) Asia: South Korea, Japan, and Singapore; 2) Oceania: New Zealand and Australia; 3) Europe: the Netherlands, Finland, and UK; and 4) North America: USA and Canada. Data used in this study were drawn from secondary sources of information related to the management of early childhood care centers in the studied countries which consisted of 72 articles published between 2004 to 2021. The research tools used in this study included data record form validated by experts, content analysis and synthesis, and data conclusion. This study found that there were 15 common factors contributing to the success of private early childhood care centers in the studied countries: 1) managing the organization systematically, 2) managing the curriculum systematically, 3) managing the organizational data systematically, 4) managing human resources systematically, 5) managing organizational and environmental safety effectively, 6) promoting health and wellness and learning experiences in children, 7) increasing family and community involvement, 8) enhancing comprehensive child care and development, 9) promoting physical development and health care in children, 10) promoting intellectual, language, and communication development in children, 11) promoting emotional, mental, and social development and cultivating morality and good citizenship in children, 12) preparing kids in transition to the next grade, 13) enhancing effective organizational culture, 14) focusing on disaster and emergency preparedness, and 15) placing importance on knowledge management in the early childhood care center.
This research article aimed to synthesize the best practices in the management of private early childhood care centers in foreign countries on 4 continents, namely 1) Asia: South Korea, Japan, and Singapore; 2) Oceania: New Zealand and Australia; 3) Europe: the Netherlands, Finland, and UK; and 4) North America: USA and Canada. Data used in this study were drawn from secondary sources of information related to the management of early childhood care centers in the studied countries which consisted of 72 articles published between 2004 to 2021. The research tools used in this study included data record form validated by experts, content analysis and synthesis, and data conclusion. This study found that there were 15 common factors contributing to the success of private early childhood care centers in the studied countries: 1) managing the organization systematically, 2) managing the curriculum systematically, 3) managing the organizational data systematically, 4) managing human resources systematically, 5) managing organizational and environmental safety effectively, 6) promoting health and wellness and learning experiences in children, 7) increasing family and community involvement, 8) enhancing comprehensive child care and development, 9) promoting physical development and health care in children, 10) promoting intellectual, language, and communication development in children, 11) promoting emotional, mental, and social development and cultivating morality and good citizenship in children, 12) preparing kids in transition to the next grade, 13) enhancing effective organizational culture, 14) focusing on disaster and emergency preparedness, and 15) placing importance on knowledge management in the early childhood care center.