Publication: การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยบริการของศูนย์แพทย์ชุมชนบางขะแยง จังหวัดปทุมธานี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549
dc.contributor.author | ปิยธิดา ตรีเดช | en |
dc.contributor.author | ยงยุทธ นวลสันเทียะ | en |
dc.contributor.author | ชนัฎตรี บุญอินทร์ | en |
dc.contributor.author | สินีนาฎ ชาวตระการ | en |
dc.date.accessioned | 2011-01-11T02:04:56Z | en |
dc.date.accessioned | 2011-08-26T08:26:23Z | |
dc.date.accessioned | 2017-06-27T02:56:05Z | |
dc.date.available | 2011-01-11T02:04:56Z | en |
dc.date.available | 2011-08-26T08:26:23Z | |
dc.date.available | 2017-06-27T02:56:05Z | |
dc.date.created | 2554-01-11 | en |
dc.date.issued | 2551 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงอรรถาธิบายมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยบริการตามรายงาน (กิจกรรม) ของศูนย์แพทย์ชุมชนบางขะแยง ตำบลบางขะแยง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เก็บรวบรวมข้อมูล ค่าแรง ค่าวัสดุ และค่าลงทุน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 (1 ตุลาคม 2548 - 30 กันยายน 2549) สถิติที่ใช้คือค่าคำนวนและร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า จาก 15 งาน (กิจกรรม) ของศูนย์แพทย์ชุมชนบางขะแยง งานที่มีต้นทุนต่อหน่วยบริการสูงสุดและต่ำสุด คืองานวางแผนครอบครัว งานคุ้มครองผู้บริโภคและอาหารปลอดภัย และงานสุขศึกษาในสำนักงาน ชุมชนโรงเรียน เท่ากับ 223, 223 และ 9 บาท ตามลำดับ ขณะที่องค์ประกอบต้นทุนค่าแรง : ค่าวัสดุ : ค่าลงทุน เท่ากับ 8.0 : 2.5 : 1.0 และข้อเสนอแนะจากการวิจัยควรจัดให้มีการประชาสัมพันธ์การจัดบริการต่างๆ ของศูนย์แพทย์ชุมชน เพื่อเพิ่มจำนวนครั้งการให้บริการ กำหนดนโยบายประหยัดการใช้วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อการบริหารต้นทุนต่อไป | en |
dc.description.abstract | This is a descriptive research. The objective is to analyze unit cost of Bang-kayang Community Medical Unit (CMU), Bang-kayang subdistrict, Muang district, Pathum Thani province. Labour Cost (LC), Material Cost (MC) and Capital Cost (CC) of fical year 2006 was collected. Statistics used were number and percentage. Results of the research indicated that among 15 activities in the CMU, the highest and lowest unit cost were found in Family Planning activity, Consumer Protection and Food Safety activity, and Office, Community and School Health Education activity of 223, 223 and 9 Baht, respectively. The ratio of LC : MC : CC was 8.0 : 2.5 : 1.0 Recommendations were the CMU should increase clients and set up a policy to facilitate economical use of materials in order to manage cost in CMU. | en |
dc.format.extent | 158377 bytes | en |
dc.format.mimetype | application/pdf | en |
dc.identifier.citation | วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 2 (2551), 115-122 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2328 | |
dc.language.iso | tha | en |
dc.rights | Mahidol University | en |
dc.source | วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2551 พ.ค.-ส.ค.; 38 (2) :115-122 | en |
dc.subject | การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยบริการ | en |
dc.subject | ศูนย์แพทย์ชุมชน | en |
dc.subject | Open Access article | en |
dc.subject | วารสารสาธารณสุขศาสตร์ | en |
dc.subject | Journal of Public Health | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยบริการของศูนย์แพทย์ชุมชนบางขะแยง จังหวัดปทุมธานี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 | en |
dc.title.alternative | Unit cost analysis of Mang-kayang Community Medical Unit Pathum Thani province for fiscal year 2006 | en |
dc.type | Article | en |
dspace.entity.type | Publication |