Publication:
แบบวัดความครุ่นคิดต่อสถานการณ์ฉบับภาษาไทยสําหรับวัยรุ่น: คุณภาพของเครื่องมือ

dc.contributor.authorวารีรัตน์ ถาน้อยen_US
dc.contributor.authorWareerat Thanoien_US
dc.contributor.authorรุ้งนภา ผาณิตรัตน์en_US
dc.contributor.authorRungnapa Panitraten_US
dc.contributor.authorกอบกุล พันธ์เจริญวรกุลen_US
dc.contributor.authorKobkul Phancharoenworakulen_US
dc.contributor.authorElaine A. Thompsonen_US
dc.contributor.authorเดชาวุธ นิตยสุทธิen_US
dc.contributor.authorDachavudh Nityasuddhien_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์en_US
dc.contributor.otherUSA. University of Washington at Seattle. School of Nursing.en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาชีวสถิติen_US
dc.date.accessioned2018-02-16T09:29:54Z
dc.date.available2018-02-16T09:29:54Z
dc.date.created2018-02-16
dc.date.issued2554
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อประเมินคุณภาพของแบบวัดความครุ่นคิดต่อสถานการณ์ในบริบทของวัยรุ่นไทย รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเครื่องมือวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย: แบบวัดความครุ่นคิดต่อสถานการณ์ได้รับการแปลเป็นภาษาไทยและนําไปทดสอบในกลุ่มวัยรุ่นไทยที่กําลังศึกษาในโรงเรียนในเขตกรุงเทพจํานวน 1,417 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประเมินตนเองซึ่งประกอบด้วยแบบวัดความคิด ความรู้สึกและประสบการณ์ของวัยรุ่น แบบวัดความครุ่นคิดต่อสถานการณ์ เพื่อทดสอบความตรงเชิงโครงสร้างโดยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง ความครุ่นคิด ความตึงเครียดทางอารมณ์ และพฤติกรรมเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ความตรงเชิงเนื้อหา รวมทั้งทดสอบความเชื่อมั่นของแบบวัดโดยคํานวณค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ผลการศึกษา: โมเดลองค์ประกอบเชิงยืนยันของแบบวัดความครุ่นคิดต่อสถานการณ์ซึ่งประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2= 0.094, df = 1, p = 0.759,GFI = 1.000, AGFI = 1.000, RMSEA = 0.000) มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (CVI = 0.95) และความเชื่อมั่นระดับดี ( α=0.90) นอกจากนี้ยังพบว่า ความครุ่นคิดมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความตึงเครียดทางอารมณ์ (r = .736, p < .01) และพฤติกรรมเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย (r = .46, p < .01) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ สรุปและข้อเสนอแนะ: แบบวัดความครุ่นคิดต่อสถานการณ์มีคุณภาพของเครื่องมือเป็นที่น่าพอใจคล้ายคลึงกับฉบับเริ่มต้นและสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในเชิงปฏิบัติทางคลินิกและการวิจัยในอนาคตในบริบทของวัฒนธรรมไทยen_US
dc.description.abstractPurpose: This study aimed to evaluate the psychometric properties of the Rumination Response Scale (RRS) in the Thai youths. Design: A methodological research.Methods: Following translation and cross-cultural adaptation, the RRS was tested on 1,417 adolescents aged ranging from 14 to 19 years and attending the schools of Bangkok, Thailand. Data were collected using a batter y set of self-report questionnaires including the Thoughts, Feelings and Experiences Questionnaire and the Rumination Response Scale. The relationship of rumination to emotional distress and suicide risk behaviors for testing the construct validity was investigated. Confirmatory factor analysis and content validity index were performed to validate the factor structure and the content of the RRS. In addition, Cronbach’s alpha coefficient was calculated for reliability. Main findings: The results revealed that the 3-factor structure of the RRS-Thai version fitted with the data well (χ2 = 0.094, df = 1, p = .759, GFI = 1.000, AGFI = 1.000, RMSEA = 0.000). The RRS-Thai version showed good content validity (CVI = .95) and internal consistency (α = .90). In addition, the rumination was also positively correlated with emotional distress (r = .736, p < .01) and suicide risk behaviors (r = .46, p < .01).Conclusion and recommendations: The Rumination Response Scale-Thai version showed satisfactory psychometric properties as to those of the original version and can be used for assessing Thai adolescents at risk of suicide.en_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29 (ฉ. เพิ่มเติม 2), ฉบับที่ 3 (ก.ค - ก.ย. 2554), 29-38en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/8743
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันen_US
dc.subjectความเชื่อมั่นแบบวัดความครุ่นคิดต่อสถานการณ์en_US
dc.subjectความตรงen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.titleแบบวัดความครุ่นคิดต่อสถานการณ์ฉบับภาษาไทยสําหรับวัยรุ่น: คุณภาพของเครื่องมือen_US
dc.title.alternativeThe Adolescent Ruminative Response Scale (Thai version): Psychometric Propertiesen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/2855

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-wareerat -2554.pdf
Size:
2.28 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections