Publication:
การประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังสำหรับผู้รับบริการที่มีปัญหาสูญเสียการได้ยิน

dc.contributor.authorรัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุลen_US
dc.contributor.authorวรรณิภา ชูชัยen_US
dc.contributor.authorพงศกร ล้อประเสริฐen_US
dc.contributor.authorอังคณา เลิศภูมิปัญญาen_US
dc.contributor.authorRattinan Tiravanitchakulen_US
dc.contributor.authorWannipha Chuchaien_US
dc.contributor.authorPongsakorn Lorpraserten_US
dc.contributor.authorAngkana Lertpoompunyaen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมายen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โครงการดูแลการได้ยินครบวงจรen_US
dc.date.accessioned2022-07-27T08:32:15Z
dc.date.available2022-07-27T08:32:15Z
dc.date.created2565-07-27
dc.date.issued2562
dc.description.abstractบทนำ: การสูญเสียการได้ยินเป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้นตามอายุ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและการสื่อสาร นำไปสู่การแยกตัวออกจากสังคม การใส่เครื่องช่วยฟังที่เหมาะสมช่วยให้ผู้ที่สูญเสียการได้ยินกลับมาสื่อสารและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นจึงควรมีการกำหนดตัวชี้วัดและประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟัง วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินผลลัพธ์ของการให้บริการเครื่องช่วยฟังและศึกษาปัญหาอุปสรรคในการใช้งานเครื่องช่วยฟังตามการรับรู้ของผู้รับบริการ วิธีการศึกษา: การศึกษาแบบย้อนหลังโดยรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียนของกลุ่มตัวอย่างผู้มารับบริการเครื่องช่วยฟัง ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 634 คน ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2559 โดยใช้แบบบันทึกข้อมูล จากนั้นวิเคราะห์เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างขณะใส่เครื่องช่วยฟังและไม่ใส่เครื่องช่วยฟังโดยใช้สถิติ Paired t test และสังเคราะห์ปัญหาอุปสรรคในการใช้งานเครื่องช่วยฟังโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา: ผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 634 คน พบว่า ค่าเฉลี่ยการได้ยินและร้อยละของการประเมินความสามารถในการจำแนกคำพูดด้วยการฟังและพูดตามคำพูดหนึ่งพยางค์ในแต่ละระดับของการสูญเสียการได้ยินขณะใส่เครื่องช่วยฟังและไม่ใส่เครื่องช่วยฟัง มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < .01) ภาพรวมความพึงพอใจต่อการรับบริการและการใช้เครื่องช่วยฟังมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.64 และ 4.34 ตามลำดับ ปัญหาและอุปสรรคในการใช้เครื่องช่วยฟัง ได้แก่ การสื่อสาร การใช้งาน และการดูแลเครื่องช่วยฟังและแบบพิมพ์หู สรุป: ผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังของโรงพยาบาลรามาธิบดี ขณะใส่เครื่องช่วยฟังผู้รับบริการได้ยินเสียงและสื่อสารได้เพิ่มขึ้น มีความพึงพอใจต่อการให้บริการและการใช้เครื่องช่วยฟังที่ได้รับตามตัวชี้วัดที่กำหนดen_US
dc.description.abstractBackground: Age-related hearing loss is a vital problem that impacts daily living including communication, socialization, and wellbeing. To be fitted with appropriate hearing aids can certainly improve quality of life. Therefore, it is essential to develop a set of indicators that will be used to measure hearing aids outcomes. Objectives: To determine the effectiveness of hearing-aid outcomes and to examine common hearing aid problems. Methods: A retrospective analysis of medical records of 634 patients receiving hearing aids services at Ramathibodi Hospital from July 2015 to June 2016, was performed. Data were collected using a data collection form and were examined by conducting descriptive analysis and paired t tests. Common hearing aid problems were analyzed using qualitative content analysis. Results: Of 634 patients receiving hearing aids services, the average hearing thresholds and speech recognition scores among with and without hearing aids, across a range of hearing loss, were statistically significant (P < .01). Patients’ satisfaction on hospital services, and on hearing aids were 4.64 and 4.34, respectively. Common hearing aid problems were communication strategy, hearing aid manipulation, and routine maintenance of hearing aids and/or ear molds. Conclusions: Patients receiving hearing aids services from Ramathibodi Hospital reported better speech sound hearing and communication. They were satisfied with hospital services and hearing aids on defined indicators.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 42, ฉบับที่ 3 (ก.ค.-ก.ย. 2562), 25-34en_US
dc.identifier.issn0125-3611 (Print)
dc.identifier.issn2651-0561 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72262
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderโครงการดูแลการได้ยินครบวงจร คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectผลลัพธ์en_US
dc.subjectตัวชี้วัดen_US
dc.subjectเครื่องช่วยฟังen_US
dc.subjectการสูญเสียการได้ยินen_US
dc.subjectOutcomesen_US
dc.subjectIndicatorsen_US
dc.subjectHearing aidsen_US
dc.subjectHearing lossen_US
dc.titleการประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังสำหรับผู้รับบริการที่มีปัญหาสูญเสียการได้ยินen_US
dc.title.alternativeAssessment of Hearing Aids Outcomes for Patients With Hearing Lossen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/169111/152081

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-rattinan-2562.pdf
Size:
3.55 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections