Publication:
การพัฒนาสื่อการสอนองค์ประกอบศิลป์ เรื่องรูปร่างและรูปทรง สำหรับนักศึกษาหูหนวก วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล

dc.contributor.authorนัทที ศรีถมen_US
dc.contributor.authorรานี เสงี่ยมen_US
dc.contributor.authorอารี ภาวสุทธิไพศิฐen_US
dc.contributor.authorจรรยา ชัยนามen_US
dc.contributor.authorพนิตา โพธิ์เย็นen_US
dc.contributor.authorNattee Srithomen_US
dc.contributor.authorRanee Sa-ngiamen_US
dc.contributor.authorAree Pravasuttipisien_US
dc.contributor.authorJanya Chainamen_US
dc.contributor.authorPanita Poeyenen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา. ภาควิชาหูหนวกศึกษาen_US
dc.date.accessioned2020-04-10T07:48:40Z
dc.date.available2020-04-10T07:48:40Z
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อพัฒนาสื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพในหัวข้อ องค์ประกอบศิลป์เรื่อง รูปร่างและรูปทรงสำหรับนักศึกษาหูหนวกวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล สื่อการสอนนี้เป็นโมเดลสามมิติที่ผู้เรียนเข้าถึงได้ด้วยการมองและการสัมผัส ผู้เข้าร่วมการวิจัยเป็นนักศึกษาหูหนวกจากภาควิชาหูหนวกศึกษา วิทยาลัยราชสุดาที่ไม่เคยลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่เกี่ยวกับองค์ประกอบศิลป์มาก่อน มีขั้นตอนการวิจัย 4 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1การเลือกกลุ่มตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 2 การสร้างเครื่องมือวิจัย ขั้นตอนที่ 3 การการเก็บข้อมูลวิจัย และขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล จากการศึกษาพบว่า การใช้สื่อการสอนแบบโมเดล 3 มิติ ช่วยให้การสื่อสารระหว่างผู้เรียนและผู้สอน มีประสิทธิภาพมากขึ้น สื่อนี้ช่วยให้นักศึกษาหูหนวกเข้าใจลักษณะของรูปทรง (รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงธรรมชาติ และรูปทรงอิสระ) ที่ประกอบด้วย ความกว้าง ความยาว และความสูง โดยผู้วิจัยออกแบบให้สามารถนำรูปทรงนี้ ไปใส่ในแม่พิมพ์ได้ เมื่อสังเกตรูปทรงที่อยู่ในแม่พิมพ์ ผู้เรียนจะมองเห็นแค่ความกว้างและความยาวซึ่งเป็นลักษณะ ของรูปร่าง เมื่อผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างนี้ จะสามารถเข้าใจหลักการขององค์ประกอบศิลป์ได้ในที่สุด คะแนนสอบก่อนและหลังเรียนแสดงให้เห็นว่า ภายหลังการใช้สื่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหูหนวก เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อสื่อการสอนในระดับมาก ที่สุดในด้านความหลากหลายและความสอดคล้องกับเนื้อหาในบทเรียนen_US
dc.description.abstractThe objective of this study was to develop effective instructional media on the topic of art composition, shapes, and forms for deaf students at Ratchasuda College, Mahidol University. The instructional media took the form of physical, three-dimensional models of various shapes, which could be touched and seen. The participants were 25 deaf students from the Department of Deaf Studies, Ratchasuda College, who had never taken any art composition classes. The procedure was comprised of four steps. The first was selecting a sample group; the second step was to develop research instruments ; the third step was data collection; and the last step was data analysis. This study found that using the three-dimensional models improved communication between the instructor and the students. With the instructional media, students can understand the concept of dimensions-width, length, and height-of three types of shapes (geometric shapes, natural shapes, and free-form shapes), which have been designed to allow the user to put the shapes into molds. When students visually observed the models, they saw the two dimensions -the width and the length-of the shapes. Once the students have learnt and understood the difference between shapes and forms, they eventually understand the concept of art composition. Comparing pre-and post-learning tests revealed that after interaction with the media, the learning effectiveness increased significantly, with a 95% confidence interval. A majority of the students expressed the highest level of satisfaction on the variety and the relevance of the media with the lesson contenten_US
dc.identifier.citationวารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 14, (ม.ค. - ธ.ค. 2561), 5-14en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/54068
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectสื่อการสอนen_US
dc.subjectองค์ประกอบศิลป์en_US
dc.subjectรูปร่างและรูปทรงen_US
dc.subjectนักศึกษาหูหนวกen_US
dc.subjectInstructional mediaen_US
dc.subjectArt compositionen_US
dc.subjectShapes and formsen_US
dc.subjectDeaf studentsen_US
dc.subjectวารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
dc.subjectJournal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities
dc.titleการพัฒนาสื่อการสอนองค์ประกอบศิลป์ เรื่องรูปร่างและรูปทรง สำหรับนักศึกษาหูหนวก วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.title.alternativeThe Development of instruction media regarding in composition shape and form for deaf student in Ratchasuda College, Mahidol Universityen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://rs.mahidol.ac.th/rs-journal/vol.14/001.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
rs-ar-natee-2561-1.pdf
Size:
235.17 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections