Publication:
กิจกรรมการให้สุขศึกษาในโรงเรียนกับการป้องกันนักสูบหน้าใหม่

dc.contributor.authorสุริยา ค้าสบายen_US
dc.contributor.authorภูริภัทร์ ธีระลักษณ์en_US
dc.contributor.authorนวลรัตน์ โมทะนาen_US
dc.contributor.authorนงคราญ ปรีจำรัสen_US
dc.contributor.authorทักษิณ ถิ่นเมืองen_US
dc.contributor.authorมณฑา เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorSuriya Khasabaien_US
dc.contributor.authorPhuriphat Thiraluken_US
dc.contributor.authorNuanrat Mothanaen_US
dc.contributor.authorNongkran Preejumrusen_US
dc.contributor.authorTaksin Thinmuangen_US
dc.contributor.authorMondha Kengganpanichen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.contributor.otherสำนักงานสาธารณสุขอำเภอสีคิ้ว จ.นครราชสีมาen_US
dc.contributor.otherสำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่สรวย จ.เชียงรายen_US
dc.contributor.otherโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าก๊อ อ.แม่สรวย จ.เชียงรายen_US
dc.contributor.otherโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอังโกน อ.ครบุรี จ.นครราชสีมาen_US
dc.contributor.otherโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีถ้อย อ.แม่สรวย จ.เชียงรายen_US
dc.date.accessioned2020-12-30T01:16:11Z
dc.date.available2020-12-30T01:16:11Z
dc.date.created2563-12-30
dc.date.issued2558
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองในรูปแบบการประเมินผลนี้มุ่งเพื่อประเมินผลของการให้กิจกรรมสุขศึกษาใน โรงเรียนเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ต่อการเกิดความรู้และความกลัวพิษภัยบุหรี่ เจตคติต่อการสูบบุหรี่และ ความตั้งใจในการไม่สูบบุหรี่ของนักเรียน และศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจในการไม่สูบบุหรี่ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่อยู่ในพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการควบคุมยาสูบโดยใช้ชุมชน เป็นฐานในจังหวัดนครราชสีมาและเชียงราย จำนวน 16,926 คน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนผู้ผ่านการเข้าร่วม กิจกรรมการให้สุขศึกษา สุ่มคัดเลือกตัวอย่างแบบสมัครใจได้ตัวอย่างทั้งสิ้น 866 คน (จ.เชียงราย 666 คน และนครราชสีมา 200 คน) เป็นนักเรียนระดับประถมศึกษา 421 คน มัธยมศึกษาตอนต้น 138 คน และ มัธยมศึกษาตอนปลาย 307 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและนำมาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วย สถิติไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนร้อยละ 11.6 เคยลองสูบบุหรี่ หลังจากการให้กิจกรรมสุขศึกษา พบว่า นักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงความรู้มากขึ้นมาก ร้อยละ 50.1 ทำให้มีความกลัวมากขึ้นมาก ร้อยละ 65.7 และมีเจตคติเชิงลบต่อบุหรี่มากขึ้นมาก ร้อยละ 65.0 มากกว่านี้ยังพบว่า เพศ ระดับการศึกษาและ พฤติกรรมการสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์กับความรู้ ความกลัว เจตคติ และความตั้งใจไม่สูบบุหรี่อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.05) ดังนั้นกิจกรรมสุขศึกษาที่เน้นความกลัวยังมีผลต่อพฤติกรรมของเด็กนักเรียนในแต่ละ ระดับโดยเฉพาะอย่างยิ่งความตั้งใจไม่สูบบุหรี่ซึ่งเป็นกลวิธีหนึ่งที่มีประสิทธิผลในการป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ได้en_US
dc.description.abstractThis quasi-experimental research in form of evaluation design aimed to assess the effects of school based health education activities for new smoker’s protection on knowledge, fear, attitude and intention not to smoke among primary and secondary students. And it included studying factors relating to no-smoking intention. The population were 16,926 students in implementing area of community based intervention project for tobacco control in Nakornrachasima and Chiengrai province and samples were 866 students (666 students from Chiengrai and 200 from Nakornrachasima), composed of 421 students from primary level and 445 students from secondary level, who participated in health education activities and volunteer to answer questionnaires. Chi-square was use to analyze association between independent variables and no-smoking intention. The results showed that 11.6% of students have ever tried smoking cigarette. After participating in health education activities, students have increased knowledge (50.1%), fear of cigarettes harm (65.7%) and negative attitude to smoking (65.0%). Moreover, the findings showed that sex, educational level, and smoking behavior have association respectively with knowledge, fear, attitude and no-smoking intention (p<0.05) so that health education activities using fear arousal have effects on students’ behavior, especially for no-smoking intention and is an effective method for new smokers’ protection.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 38, ฉบับที่ 131 (ก.ค.- ธ.ค. 2558), 54-64en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/60618
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectกิจกรรมสุขศึกษาในโรงเรียนen_US
dc.subjectความตั้งใจไม่สูบบุหรี่en_US
dc.subjectนักสูบหน้าใหม่en_US
dc.subjectSchool based health education activitiesen_US
dc.subjectNo-smoking intentionen_US
dc.subjectNew smokeren_US
dc.titleกิจกรรมการให้สุขศึกษาในโรงเรียนกับการป้องกันนักสูบหน้าใหม่en_US
dc.title.alternativeEffect of School Based Health Education Activities for New Smoker’s Protectionen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-mondha-2558.pdf
Size:
1.67 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections