Publication:
ภาวะโภชนาการและปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคอาหารของผู้ป่วยระยะสุดท้าย ที่มารับบริการคลินิกดูแลและบรรเทาอาการ

dc.contributor.authorสุมนทิพย์ นาควิจิตรen_US
dc.contributor.authorกิติพล นาควิโรจน์en_US
dc.contributor.authorพรพิมล โอเจริญen_US
dc.contributor.authorศศปิรียากานต์ มิ่งวงศ์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัวen_US
dc.date.accessioned2017-09-15T04:02:44Z
dc.date.available2017-09-15T04:02:44Z
dc.date.created2560-09-15
dc.date.issued2559
dc.description.abstractการศึกษาภาวะโภชนาการและปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคอาหารของผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกดูแลและ บรรเทาอาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินภาวะโภชนาการเบื้องต้นและศึกษาหาปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ และการบริโภคอาหารของผู้ป่วยกลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยทั้งชายและหญิงที่มารับบริการตรวจรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก คลินิกดูแลและบรรเทาอาการจำนวน103 รายตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบฟอร์มซักประวัติทั่วไป แบบประเมิน Subjective global assessment (SGA) ร่วมด้วยประวัติการรับประทานอาหารใน24 ชั่วโมง การคำนวณหาระดับของ body mass index (BMI) และ ทำ แบบบันทึกการเปลี่ยนแปลงอาการของผู้ป่วยจาก Edmonton Symptom Assessment System (ESAS) วิเคราะห์ด้วย สถิติสำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเชิงกลุ่ม และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของการศึกษาภาวะ โภชนาการกับปัจจัยต่างๆผลการศึกษาพบว่า จำนวนผู้ป่วย 103 ราย ข้อมูลทั่วไปจำนวนเพศชายและหญิงร้อยละ 50.5 และร้อยละ49.5 ตามลำดับ อายุเฉลี่ย 51-60 ปี ร้อยละ 30.1 สถานะภาพคู่ร้อยละ 66 สิทธิ์การรักษา ข้าราชการร้อยละ 48.5 อาชีพแม่บ้านหรือว่างงานร้อยละ23 ระดับการศึกษาประถมร้อยละ 36.9 ข้อมูลการเจ็บป่วย ตำแหน่งร่างกายที่ป่วยเป็นมะเร็งปอดร้อยละ 32 กระเพาะอาหารลำไส้และทวารหนักจำนวนร้อยละ 15.5 มะเร็งตับ ร้อยละ 6.8 ข้อมูลด้านโภชนาการ ผู้ป่วยมีน้ำหนักอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 38.8 น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ มาตรฐานร้อยละ 31.1 การซักประวัติทางโภชนาการ พลังงานอาหารโดยเฉลี่ยที่ผู้ป่วยได้รับในกลุ่มภาวะโภชนาการ ปกติ เสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการมีค่า968.27 990.88 และ737.44 กิโลแคลอรี่ ตามลำดับ โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ (SGA B) ร้อยละ 48 สำหรับกลุ่ม ผู้ป่วยที่มีภาวะทุพโภชนาการมีการบริโภคอาหารและปริมาณไขมันที่น้อยกว่าผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะทุพโภชนาการอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P≤0.05) ตลอดจนรวมถึงปัจจัยข้อจำกัดในการเคลื่อนไหว ท้องบวม ขาบวมหรือภาวะเบื่อ อาหาร มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการen_US
dc.description.abstractA study of nutrition and associated factors that impact food consumption among patients who came to palliative care clinic with the purpose of evaluating the condition of preliminary nutrition was conducted. The study had a sample size of 103 patients that consisted of both male and female. Study participants were receiving care at the palliative care clinic from November 2015 to July 2016. The tool used to aid the study was an evaluation form asking for general personal history. Subjective global assessment (SGA) included history on food intake within 24 hours, body mass index (BMI) calculation, and documentation on changes in food the patients take from Edmonton Symptom Assessment System (ESAS). These were calculated from the data within the evaluation form. Relationship between change-oriented group, and the comparison between the average nutrition condition and various factors were analyzed. The results of the study; male 50.5 per one-hundred and female 49.5 per one-hundred, with the average of 51-60 years of age 30.1 per one-hundred, couple status 66 per one-hundred, universal health care user 48.5 per onehundred, house wife or unemployed 23 of one-hundred, those completed primary school 36.9 of onehundred, patients with lung cancer 32 of one-hundred, stomach and intestines and anus complications 15.5 per one-hundred, patients with liver cancer 6.8 per one-hundred, patients with acceptable weight 38.8 per one-hundred, patients with less than acceptable weight 31.1. The average calorie the patients received in the group with normal nutrition compared to the risk of malnutrition and malnutrition was 968.27, 990.88 and 737.44 kcal, respectively, with the majority of the patients experiencing the risk of malnutrition, (SGA B) 48 per one-hundred. For patients in the malnutrition group, there was a correlation of food and blood lipid content that were less than patients who received normal nutrition statistically (P≤0.05) throughout including limiting activity, the stomach swelling, leg swelling and anorexia were correlated malnutrition statistically (P≤0.05).en_US
dc.identifier.citationวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 3, (ส.ค. 2559), 41-53en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2828
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectภาวะโภชนาการเบื้องด้นen_US
dc.subjectปัจจัยเกี่ยวข้องภาวะทุพโภชนาการen_US
dc.subjectบรรเทาอาการคลินิกดูแลen_US
dc.subjectJournal of Professional Routine to Researchen_US
dc.subjectวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.titleภาวะโภชนาการและปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคอาหารของผู้ป่วยระยะสุดท้าย ที่มารับบริการคลินิกดูแลและบรรเทาอาการen_US
dc.title.alternativeNutritional Status and Associated Factors of Food Consumption among Patients in Palliative Care Clinicen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://www.en.mahidol.ac.th/jpr2r/doc/V3_2016/JPR2R%20006-2016%20Final.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-sumonthi-2559.pdf
Size:
594.53 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections