Publication: คุณภาพชีวิตและความพึงพอใจของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมต่อการผ่าตัดเสริมสร้างเต้านมทันทีหลังการตัดเต้านม
dc.contributor.author | ปิ่นทอง กิจบุญ | |
dc.contributor.author | ปิยะวรรณ โภคพลากรณ์ | |
dc.contributor.author | สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม | |
dc.contributor.author | ประกาศิต จิรัปปภา | |
dc.contributor.author | Pintong kitbun | |
dc.contributor.author | Piyawan Pokpalagon | |
dc.contributor.author | Suchira Chaiviboontham | |
dc.contributor.author | Prakasit Chirappapha | |
dc.date.accessioned | 2024-06-25T06:44:00Z | |
dc.date.available | 2024-06-25T06:44:00Z | |
dc.date.created | 2567-06-25 | |
dc.date.issued | 2567 | |
dc.description | มะเร็งเต้านม, การผ่าตัดเสริมสร้างเต้านมทันที, การตัดเต้านม, คุณภาพชีวิต, ความพึงพอใจ | |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิต และความพึงพอใจของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับการผ่าตัดเสริมเต้านมทันทีหลังการตัดเต้านม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับการผ่าตัดเสริมสร้างเต้านมทันทีหลังการตัดเต้านมในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง 80 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบสอบถามคุณภาพชีวิต แบ่งเป็น 3 ด้าน ประกอบด้วยความผาสุกทางกาย ความผาสุกทางจิตสังคม ความผาสุกทางเพศ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการผ่าตัดเสริมสร้างเต้านม (BREAST-Q Version 2.0 © Reconstruction Module Postoperative Scales) ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติบรรยาย ผลการศึกษาพบว่า คะแนนเฉลี่ยด้านความผาสุกทางกายมีคะแนนมากที่สุด และความผาสุกทางเพศมีคะแนนน้อยที่สุด ความพึงพอใจแบ่งเป็นรายด้านพบว่า คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจต่อการดูแลรักษาได้คะแนนสูงสุด แต่ในด้านการให้ข้อมูลมีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าข้อย่อยด้านอื่น ๆ เมื่อวิเคราะห์คุณภาพชีวิตตามประเภทของการผ่าตัดทั้ง 4 ชนิด พบว่า ความผาสุกทางกายในส่วนของทรวงอกของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเสริมสร้างเต้านมโดยใช้กล้ามเนื้อและชั้นไขมันบริเวณหลังมีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด ส่วนความพึงพอใจต่อเต้านมของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเสริมสร้างเต้านมโดยใช้กล้ามเนื้อและชั้นไขมันบริเวณหน้าท้อง มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดผลการศึกษานี้จะเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้ป่วยและทีมสุขภาพเพื่อใช้ประกอบในการตัดสินใจเลือกแผนการรักษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ป่วยและเป็นข้อมูลในการพัฒนาการดูแลรักษาเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะความผาสุกทางเพศ | |
dc.description.abstract | This descriptive cross-sectional research aimed to explore the quality of life and satisfaction with immediate breast reconstruction after mastectomy in patients with breast cancer.Purposive sampling was used to select a sample of 80 patients diagnosed with breast cancer undergoing immediate breast reconstruction after mastectomy. They were recruited at an outpatient surgical department clinic in a university hospital in Bangkok, Thailand. The instruments used for collecting data comprised the Demographic Data Form and the BREAST-Q Version 2.0© Reconstruction Module Postoperative Scales(Thaiversion),consisting of two parts: quality of life and satisfaction. Data were analyzed using descriptive statistics. The quality of life had three domains (physical well-being,psychosocial well-being, and sexual well-being), it was found that the physical well-being domain had the highest mean score,while the sexual well-being domain had the lowest.For the satisfaction part, the domains were analyzed, the mean satisfaction with care was the highest; however, the satisfaction with the information subdomain was lower than other subdomains. Among the four types of surgery,the quality of life in terms of physical well-being, particularly the chest of the patients receiving latissimus dorsi flap, had the highest mean score. However, the satisfaction with breasts of transverse rectus abdominis myocutaneous flap reconstruction had the highest mean score. The results of this study can be used as basic information for patients and healthcare providers to decide on optimal breast reconstruction that meets the patients’demands and to develop care to enhance sexual well-being. | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 30, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2567), 72-86 | |
dc.identifier.issn | 2822-1370 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2822-1389 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98967 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights.holder | ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | มะเร็งเต้านม | |
dc.subject | การผ่าตัดเสริมสร้างเต้านมทันที | |
dc.subject | การตัดเต้านม | |
dc.subject | คุณภาพชีวิต | |
dc.subject | ความพึงพอใจ | |
dc.subject | Breast cancer | |
dc.subject | Immediate breast reconstruction | |
dc.subject | Mastectomy | |
dc.subject | Quality of life | |
dc.subject | Satisfaction | |
dc.title | คุณภาพชีวิตและความพึงพอใจของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมต่อการผ่าตัดเสริมสร้างเต้านมทันทีหลังการตัดเต้านม | |
dc.title.alternative | Quality of Life and Satisfaction with Immediate Breast Reconstruction after Mastectomy in Patients with Breast Cancer | |
dc.type | Research Article | |
dcterms.accessRights | open access | |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/261627/72-86 | |
oaire.citation.endPage | 86 | |
oaire.citation.issue | 1 | |
oaire.citation.startPage | 72 | |
oaire.citation.title | วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล | |
oaire.citation.volume | 30 | |
oaire.version | Accepted Manuscript | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาศัลยศาสตร์ |
Files
Original bundle
1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
- Name:
- ra-ar-piyawan-2567.pdf
- Size:
- 4.01 MB
- Format:
- Adobe Portable Document Format