Publication:
การศึกษาย้อนหลังภาวะแทรกซ้อนจากการทำผ่าตัดโดยหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดในระยะ learning curve ของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

dc.contributor.authorประภาพรรณ ศรีจินไตยen_US
dc.contributor.authorเมธิณี พิศาลายนen_US
dc.contributor.authorPrapapan Srichintaien_US
dc.contributor.authorMetinee Pisalayonen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาวิสัญญีวิทยาen_US
dc.date.accessioned2022-09-30T02:32:37Z
dc.date.available2022-09-30T02:32:37Z
dc.date.created2565-09-30
dc.date.issued2556
dc.description.abstractบทนำ: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีได้นำหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดมาทำการติดตั้งที่ห้องผ่าตัดศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ในปี 2013 ได้ทำการศึกษาภาวะแทรกซ้อนในระยะ perioperative ที่เกิดกับผู้ป่วยในระยะ learning curve ของทีมผ่าตัดโดยหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด วัตถุประสงค์: ทำการศึกษาย้อนหลังเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนในระยะ perioperative ของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดโดยหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด (Robot assisted laparoscopic surgery, RALS) สำหรับการผ่าตัดบริเวณอุ้งเชิงกราน (Pelvic cavity) ในช่วงระยะเวลาเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนสิงหาคม ในปี 2013 วัสดุและวิธีการ: ทำการรวบรวมข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียนของผู้ป่วย จำนวน 27 คน ซึ่งเข้ามารับการผ่าตัดโดยหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดบริเวณอุ้งเชิงกราน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนสิงหาคม 2013 ซึ่งเป็นระยะเวลาเริ่มต้นของการบริการอันเป็นระยะเวลา learning curve ของทีม ผู้ป่วยทุกรายจะได้รับการประเมินและเตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับยาระงับความรู้สึกเพื่อทำการผ่าตัด พร้อมทั้งมีการเตรียม blood components ต่างๆ ก่อนผู้ป่วยเข้ารับการผ่าตัด ภายหลังผ่าตัดจะรับผู้ป่วยไว้ดูแลใน ICU หรือ step down word ทุกราย ยกเว้นผู้ป่วยเพศชาย จำนวน 1 คน และเพศหญิง จำนวน 2 คน ที่รับไว้สังเกตอาการที่หอผู้ป่วย ผู้ป่วยทุกรายสามารถกลับบ้านและมาพบแพทย์เพื่อติดตามผลการรักษาตามเวลานัดหมาย ผลการศึกษา: ผู้ป่วยจำนวน 27 คน เข้ารับการผ่าตัดโดยหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด (RALS) เป็นเพศหญิง จำนวน 2 คน ได้รับวินิจฉัยว่ามีบุตรยาก อายุเฉลี่ย 36.5 ปี ระยะเวลาผ่าตัดเฉลี่ย 187.5 นาที นอนพักในโรงพยาบาล 2 - 5 วัน ผู้ป่วยเพศหญิง จำนวน 1 คน มีปัญหา subcutaneous emphysema เล็กน้อยและกลับบ้านในวันที่ 3 ของการอยู่โรงพยาบาล ผลการศึกษาพบว่า ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย คือ subcutaneous emphysema ผู้ป่วยจำนวน 2 คน เกิด ileus ปัญหาที่รุนแรงคือ massive bleeding ไม่พบว่าต้องมีการเปลี่ยนการผ่าตัดเป็น open surgery หรือต้องกลับมาผ่าตัดอีกครั้ง ไม่พบว่ามี mortality เกิดขึ้นในระยะ perioperative สรุป: ภาวะแทรกซ้อนในระยะ perioperative ของผู้ป่วยเข้ารับการผ่าตัดโดยหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด (RALS) สำหรับการผ่าตัดบริเวณ pelvic ของทีมผ่าตัดในระยะ learning curve พบน้อย การเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวสัมพันธ์กับโรคประจำตัวของผู้ป่วยมากกว่าen_US
dc.description.abstractBackground: The newly robotic surgery was implemented in Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital in the year 2013. Perioperative complications related to robotic assisted laparoscopic surgery during the learning curve was study. Objective: To study retrospectively regarding perioperative complications associated with robot assisted laparoscopic surgery (RALS) for pelvic cavity during learning period since May to August 2003. Methods: To collect data respectively, 27 cases underwent robot assisted laparoscopic surgery for pelvic cavity during May to August 2013. All of patients were proper preoperative evaluation and preparation. Blood component was prepared preoperatively. All of them was admitted to ICU or step down ward postoperatively except one male and two females were observed at ward. They were discharged home and came back to be fellow-up as scheduled. Results: There were 27 cases underwent RALS. Two of them were females, diagnosed as infertility underwent gynecological surgical mean age of 36.5 years, operative time 187.5 minutes, took 2.5 days for hospital stay. One of them was minute subcutaneous emphysema and could be discharged on the third postoperative day. Twenty five patients were male underwent urological surgery. Diagnosis were prostatic cancer twenty three cases, one was carcinoma of bladder, the other was right renal stone. The result showed that subcutaneous emphysema was common complications. Two cases had ileus. The great complication was massive bleeding. None of them was converted to open surgery nor came back for reopening. No perioperative mortality found. Conclusions: Perioperative complications related to robotic assisted laparoscopic surgery for pelvic cavity during early experience of surgical team was relatively rare. The complications rather were related to associated underlying disease of the patient.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 36, ฉบับที่ 3 (ก.ค.-ส.ค. 2556), 199-209en_US
dc.identifier.issn0125-3611 (Print)
dc.identifier.issn2651-0561 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79735
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectRobotic Assisted Laparoscopic Surgery Learning Curve Retrospectiveen_US
dc.titleการศึกษาย้อนหลังภาวะแทรกซ้อนจากการทำผ่าตัดโดยหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดในระยะ learning curve ของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.title.alternativeRetrospective Study of Complications Related to Robotic Assisted Laparoscopic Surgery During Learning Curve in Ramathibodi Hospitalen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/104015/83021

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-prapapan-2556.pdf
Size:
6.11 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections