Publication: Factors Related to Satisfaction of Patients Receiving CT Scan
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.2), No. 4 ( October-December 2017), 82-89
Suggested Citation
Do Thi Yen Mai, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Wallada Chanruangvanich, อรพรรณ โตสิงห์, Orapan Thosingha Factors Related to Satisfaction of Patients Receiving CT Scan. Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.2), No. 4 ( October-December 2017), 82-89. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44154
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Related to Satisfaction of Patients Receiving CT Scan
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจด้วยคอมพิวเตอร์สแกน
Abstract
Purpose: To explore the relationships between waiting time, anxiety, communication, environmental factors, and satisfaction of patients receiving CT scan.
Design: Descriptive correlational design.
Methods: Sample was 126 patients receiving CT scan at Bach Mai Hospital, Hanoi, Vietnam. Data were collected using 4 questionnaires: 1) the Hamilton Anxiety Rating Scale (HAM-A), 2) the communication questionnaire, 3) the environmental questionnaire, and 4) the satisfaction questionnaire. Spearman’s rho was employed to test the relationships among studied variables.
Main findings: The result illustrated that anxiety was negatively related to satisfaction (rs = - .48, p < .05). Communication and environment were positively related to satisfaction (rs = .46, .34, p < .05, respectively). Nevertheless, waiting time was not significantly related to satisfaction (p > .05).
Conclusion and recommendations: Nurses should assess anxiety level of patients while they were waiting for CT scan and provide nursing care to reduce anxiety appropriately. In addition, communication skills should be concerned for heath care team as well as improved environment to ensure satisfaction of patients using services in the radiology department.
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านเวลารอคอย ความวิตกกังวล การสื่อสาร และสภาพแวดล้อมของหน่วยตรวจ กับความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจด้วยคอมพิวเตอร์สแกน (CT scan) รูปแบบการวิจัย: วิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วย จำนวน 126 คน ที่มารับการตรวจด้วยคอมพิวเตอร์สแกน โรงพยาบาลแบคมาย ประเทศเวียตนาม เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความวิตกกังวลของ Hamilton Anxiety Rating Scale (HAM-A) แบบสอบถามการสื่อสาร สิ่งแวดล้อมของหน่วยตรวจ และความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น วิเคราะห์หาค่าความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Spearman’s rho ผลการวิจัย: ปัจจัยด้านความวิตกกังวลมีความสัมพันธ์เชิงลบกับความพึงพอใจ (rs = - .48, p < .05) การสื่อสารและสภาพแวดล้อมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความพึงพอใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .46, .34, p < .05, ตามลำดับ) ขณะที่เวลารอคอยไม่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจ (p > .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินความวิตกกังวลของผู้ป่วยขณะรอรับการตรวจด้วยคอมพิวเตอร์สแกน และให้การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวล รวมทั้งควรตระหนักถึงการสื่อสารที่เหมาะสมระหว่างบุคลากรและผู้ป่วย และปรับปรุงสภาพแวดล้อม เพื่อเพิ่มความพึงพอใจแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการที่หน่วยรังสีวิทยา
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านเวลารอคอย ความวิตกกังวล การสื่อสาร และสภาพแวดล้อมของหน่วยตรวจ กับความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจด้วยคอมพิวเตอร์สแกน (CT scan) รูปแบบการวิจัย: วิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วย จำนวน 126 คน ที่มารับการตรวจด้วยคอมพิวเตอร์สแกน โรงพยาบาลแบคมาย ประเทศเวียตนาม เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความวิตกกังวลของ Hamilton Anxiety Rating Scale (HAM-A) แบบสอบถามการสื่อสาร สิ่งแวดล้อมของหน่วยตรวจ และความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น วิเคราะห์หาค่าความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Spearman’s rho ผลการวิจัย: ปัจจัยด้านความวิตกกังวลมีความสัมพันธ์เชิงลบกับความพึงพอใจ (rs = - .48, p < .05) การสื่อสารและสภาพแวดล้อมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความพึงพอใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .46, .34, p < .05, ตามลำดับ) ขณะที่เวลารอคอยไม่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจ (p > .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินความวิตกกังวลของผู้ป่วยขณะรอรับการตรวจด้วยคอมพิวเตอร์สแกน และให้การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวล รวมทั้งควรตระหนักถึงการสื่อสารที่เหมาะสมระหว่างบุคลากรและผู้ป่วย และปรับปรุงสภาพแวดล้อม เพื่อเพิ่มความพึงพอใจแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการที่หน่วยรังสีวิทยา