Publication: Aqueous extract of Thai medical Herbs (Phytoplex) Inhibits Cell Proliferation and Induces Apoptosis in human cervical cancer cell line (HeLa cells)
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Veterinary Science Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Applied Animal Science. Vol.11, No.2 (May- Aug 2018), 31-44
Suggested Citation
Somjit Chaiwattanarungruengpaisan, Warunya Chakritbudsabong, Nattapat Rutjanavate, Rassameepen Phonarknguen, Ganokon Urkasemsin, Sasitorn Rungarunlert, สมจิตร ใช้วัฒนรุ่งเรืองไพศาล, วรัญญา ชาคริตบุษบง, ณัฐภัทร รุจจนเวท, รัศมีเพ็ญ โพธิ์นาคเงิน, กนกนอร เอื้อเกษมสิน, ศศิธร รุ่งอรุณเลิศ Aqueous extract of Thai medical Herbs (Phytoplex) Inhibits Cell Proliferation and Induces Apoptosis in human cervical cancer cell line (HeLa cells). Journal of Applied Animal Science. Vol.11, No.2 (May- Aug 2018), 31-44. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/54006
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Aqueous extract of Thai medical Herbs (Phytoplex) Inhibits Cell Proliferation and Induces Apoptosis in human cervical cancer cell line (HeLa cells)
Alternative Title(s)
สารสกัดสมุนไพรไทย (ไฟโทเพล็กซ์) ด้วยน้ำ ยับยั้งการเพิ่มจำนวนของเซลล์และเหนี่ยวนำให้เซลล์ตายแบบเอพอพโตซิสในเซลล์มะเร็งปากมดลูกของมนุษย์ (เซลล์ฮีล่า)
Other Contributor(s)
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. The Monitoring and Surveillance Center for Zoonotic Diseases in Wildlife and Exotic Animals (MoZWE)
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Preclinic and Applied Animal Science
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Clinical Science and Public Health
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Preclinic and Applied Animal Science
Mahidol University. Faculty of Veterinary Science. Department of Clinical Science and Public Health
Abstract
Cervical cancer remains a leading cause of cancer mortality in females. Chemotherapy is important as it
was a part of the main treatment for this type of cancer. However, multidrug resistance and serious side effects
have been major problems in cervical cancer chemotherapy. Therefore, the search for new anticancer drugs
from the native medicinal herbs, is very attractive. The combination extract of eight Thai medicinal herb recipes,
namely Phytoplex, is a commercial product of The Government Pharmaceutical Organization, has anti-cancer
effect on hepatocellular carcinoma cells (HepG2) in vitro. However, the anticancer effects and molecular
mechanisms of Phytoplex on cervical cancer have not yet been studied. The aim of this study was to evaluate
the inhibitory effect of Phytoplex on human cervical adenocarcinoma cells (HeLa cells) in vitro. HeLa cells were
treated with low concentrations of Phytoplex (50, 100, 500, 1,000 μg/ml) and high concentrations of Phytoplex
(2,000 and 5,000 μg/ml) compared with a positive control (0.1% mitomycin C) and a negative control (0 μg/ml of
Phytoplex) for 24, 48 and 72 h. Then, cell viability was evaluated using an MTT assay. The activities of caspase-3
(apoptosis marker) and Ki-67 (proliferation marker)†were investigated using an immunofluorescence assay. At
24 h, lower concentrations of Phytoplex promoted cell viability, while higher concentrations inhibited cell viability
(P < 0.05). In addition, the inhibitory effect of Phytoplex continuously increased from 24 to 72 h of incubation
peroid at high concentrations of Phytoplex. Moreover, Phytoplex inhibited HeLa cell proliferation with an IC50
value of 1,972.43, 1,230.10 and 1,317.67 μg/ml at 24, 48 and 72 h, respectively. The activity of caspase-3 of
HeLa cells treated with high concentration of Phytoplex seemed to be higher than of negative control (0 μg/ml).
Activity of Ki-67 was higher in lower concentrations of Phytoplex, than that in higher concentrations of
Phytoplex. Therefore, HeLa cell growth inhibition was dose-and time-dependent. The study suggested that high
concentrations (2,000 and 5,000 μg/ml) of Phytoplex exerted inhibitory effect in HeLa cell growth by inducing
apoptosis via activation of caspase-3.
มะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของผู้หญิง การใช้ยาเคมีบำบัดมีความสำคัญอย่างมากต่อการรักษามะเร็งชนิดนี้แต่ปัญหาหลักในการใช้ยาเคมีบำบัดรักษามะเร็งปากมดลูกคือการดื้อต่อยาหลายชนิดและผลข้างเคียงของยาที่รุนแรง ดังนั้น การค้นหายาต้านมะเร็งชนิดใหม่จากสมุนไพรพื้นบ้านจึงเป็นที่น่าสนใจอย่างมาก ตำรับยาของสารสกัดสมุนไพรไทยรวม 8 ชนิด ชื่อว่าไฟโทเพล็กซ์ เป็นผลิตภัณฑ์ขององค์การเภสัชกรรม มีคุณสมบัติต่อต้านมะเร็งในมะเร็งเซลล์ตับ (เอชซีซี) ในหลอดทดลอง ในปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาคุณสมบัติต่อต้านมะเร็งและกลไกระดับโมเลกุลของยาไฟโทเพล็กซ์ที่ใช้รักษามะเร็งปากมดลูก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของไฟโทเพล็กซ์ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งปากมดลูก (เซลล์ฮีล่า) ในหลอดทดลอง โดยนำไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นต่ำ ( 50 100 500 และ1,000 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร) และ ไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นสูง (2,000 และ 5,000 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร) มาทดสอบกับเซลล์มะเร็งปากมดลูก เทียบกับกลุ่มควบคุมผลบวก (0.1% mitomycin C) และกลุ่มควบคุมผลลบ( ไฟโทเพล็กซ์ที่มีความเข้มข้น 0 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร) เป็นเวลา 24 48 และ 72 ชั่วโมง) หลังจากนั้นวัดอัตรารอดชีวิตของเซลลล์โดยวิธี MTT ตรวจการแสดงออกของ caspase-3 (บ่งบอกการตายของเซลล์)และ Ki-67 (บ่งบบอกการแบ่งตัวของเซลลื) โดยวิธีอิมมูโนฟลูออเรสเซนต์ ผลการศึกษาที่ 24 ชั่วโมง พบว่า ไฟโทเพล็กซ์ ความเข้มข้นต่ำ มีอัตรารอดชีวิตของเซลล์มะเร้งเพิ่มขึ้น ขณะที่ไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นสูง ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง (P < 0.05) การยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 24 ชั่วโมง จนถึง 72 ชั่วโมงของการเลี้ยงที่ความเข้มข้นสูง ความเข้มข้นของไฟโทเพล็กซ์ที่ทำให้เซลล์รอดชีวิตครึ่งหนึ่ง (IC50) ทีค่าเท่ากับ 1,972.43 1,230.10และ 1,317.67 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร) ที่ระยะเวลา 24 48 และ72 ชั่วโมง ตามลำดับ การแสดงออกของ caspase-3 พบว่า เซลล์มะเร็งปากมดลูกที่ทดสอบด้วยไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นสูงมีการแสดงออกของ caspase-3 สูงกว่าไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นต่ำ การตรวจแสดงออกของ Ki-67 พบว่า เซลล์มะเร็งปากมดลูกที่ทดสอบด้วยไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นต่ำมีการแสดงออกของ Ki-67 สูงกว่าไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นสูง ดังนั้น ประสิทธิภาพของไฟโทเพล็กซ์ในการยับยั้งการเจริญเติบโตต่อเซลล์มะเร็งปากมดลูกขึ้นกับความเข้มข้นของยาและเวลาในการทดสอบ การศึกษานี้ชี้แนะว่า ไฟโทเพล็กซ์ที่ความเข้มข้นสูง2,000 และ 5,000 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งปากมดลูกโดยการเหนี่ยวนำทำให้เกิดการตายแบบเอพอพโตซิสผ่านทางการกระตุ้น caspase-3
มะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของผู้หญิง การใช้ยาเคมีบำบัดมีความสำคัญอย่างมากต่อการรักษามะเร็งชนิดนี้แต่ปัญหาหลักในการใช้ยาเคมีบำบัดรักษามะเร็งปากมดลูกคือการดื้อต่อยาหลายชนิดและผลข้างเคียงของยาที่รุนแรง ดังนั้น การค้นหายาต้านมะเร็งชนิดใหม่จากสมุนไพรพื้นบ้านจึงเป็นที่น่าสนใจอย่างมาก ตำรับยาของสารสกัดสมุนไพรไทยรวม 8 ชนิด ชื่อว่าไฟโทเพล็กซ์ เป็นผลิตภัณฑ์ขององค์การเภสัชกรรม มีคุณสมบัติต่อต้านมะเร็งในมะเร็งเซลล์ตับ (เอชซีซี) ในหลอดทดลอง ในปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาคุณสมบัติต่อต้านมะเร็งและกลไกระดับโมเลกุลของยาไฟโทเพล็กซ์ที่ใช้รักษามะเร็งปากมดลูก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของไฟโทเพล็กซ์ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งปากมดลูก (เซลล์ฮีล่า) ในหลอดทดลอง โดยนำไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นต่ำ ( 50 100 500 และ1,000 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร) และ ไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นสูง (2,000 และ 5,000 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร) มาทดสอบกับเซลล์มะเร็งปากมดลูก เทียบกับกลุ่มควบคุมผลบวก (0.1% mitomycin C) และกลุ่มควบคุมผลลบ( ไฟโทเพล็กซ์ที่มีความเข้มข้น 0 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร) เป็นเวลา 24 48 และ 72 ชั่วโมง) หลังจากนั้นวัดอัตรารอดชีวิตของเซลลล์โดยวิธี MTT ตรวจการแสดงออกของ caspase-3 (บ่งบอกการตายของเซลล์)และ Ki-67 (บ่งบบอกการแบ่งตัวของเซลลื) โดยวิธีอิมมูโนฟลูออเรสเซนต์ ผลการศึกษาที่ 24 ชั่วโมง พบว่า ไฟโทเพล็กซ์ ความเข้มข้นต่ำ มีอัตรารอดชีวิตของเซลล์มะเร้งเพิ่มขึ้น ขณะที่ไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นสูง ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง (P < 0.05) การยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 24 ชั่วโมง จนถึง 72 ชั่วโมงของการเลี้ยงที่ความเข้มข้นสูง ความเข้มข้นของไฟโทเพล็กซ์ที่ทำให้เซลล์รอดชีวิตครึ่งหนึ่ง (IC50) ทีค่าเท่ากับ 1,972.43 1,230.10และ 1,317.67 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร) ที่ระยะเวลา 24 48 และ72 ชั่วโมง ตามลำดับ การแสดงออกของ caspase-3 พบว่า เซลล์มะเร็งปากมดลูกที่ทดสอบด้วยไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นสูงมีการแสดงออกของ caspase-3 สูงกว่าไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นต่ำ การตรวจแสดงออกของ Ki-67 พบว่า เซลล์มะเร็งปากมดลูกที่ทดสอบด้วยไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นต่ำมีการแสดงออกของ Ki-67 สูงกว่าไฟโทเพล็กซ์ความเข้มข้นสูง ดังนั้น ประสิทธิภาพของไฟโทเพล็กซ์ในการยับยั้งการเจริญเติบโตต่อเซลล์มะเร็งปากมดลูกขึ้นกับความเข้มข้นของยาและเวลาในการทดสอบ การศึกษานี้ชี้แนะว่า ไฟโทเพล็กซ์ที่ความเข้มข้นสูง2,000 และ 5,000 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งปากมดลูกโดยการเหนี่ยวนำทำให้เกิดการตายแบบเอพอพโตซิสผ่านทางการกระตุ้น caspase-3