Publication:
สภาวะปริทันต์ของผู้ที่บกพร่องทางการได้ยินในวัยหนุ่มสาวกลุ่มหนึ่ง

dc.contributor.authorวาริธร โฆษิตภูมิเวทen_US
dc.contributor.authorWaritorn Kositpumivateen_US
dc.contributor.authorเพ็ญพรรณ เลาหพันธ์en_US
dc.contributor.authorPenpan Laohapanden_US
dc.contributor.authorฐิติวรรณ บูรณะวิเชษฐกุลen_US
dc.contributor.authorThitiwan Buranavichetkulen_US
dc.contributor.authorพรพรรณ์ สมบูรณ์en_US
dc.contributor.authorPornpun Somboonen_US
dc.contributor.correspondenceพรพรรณ์ สมบูรณ์en_US
dc.contributor.correspondencePornpun Somboonen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาเวชศาสตร์ช่องปากและปริทันตวิทยา.en_US
dc.date.accessioned2015-02-25T08:25:57Z
dc.date.accessioned2016-12-27T07:16:33Z
dc.date.available2015-02-25T08:25:57Z
dc.date.available2016-12-27T07:16:33Z
dc.date.created2015-02-18
dc.date.issued2013-09
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบสภาวะอนามัยช่องปากและสภาวะปริทันต์ของนักศึกษาที่ บกพร่องและที่ไม่บกพร่องทางการได้ยิน วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: ศึกษาในนักศึกษาวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล ที่มีและไม่มีความบกพร่องทางการได้ยินจำนวน 97 และ 83 คนตามลำดับ เก็บข้อมูล ส่วนบุคคล และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากโดยใช้แบบสอบถามชนิดตอบเอง ผู้ ตรวจที่ผ่านการปรับมาตรฐานแล้วเพียงคนเดียวทำการตรวจช่องปากโดยใช้คะแนน คราบจุลินทรีย์ (ร้อยละของตำแหน่งที่มีคราบจุลินทรีย์) และดัชนีซีพีไอ จำแนกสภาวะ อนามัยช่องปากตามคะแนนคราบจุลินทรีย์ดังนี้ น้อยกว่าร้อยละ 20-ดี, ร้อยละ 20 ถึง 40-พอใช้ และมากกว่าร้อยละ 40-ไม่ดี จำแนกสภาวะปริทันต์โดยใช้คะแนนดัชนีซี พีไอสูงสุดของช่องปาก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบของแมน-วิทเนย์ ยู และการ ทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษา: นักศึกษาที่บกพร่องทางการได้ยินมีคะแนนคราบจุลินทรีย์เฉลี่ยสูงกว่า นักศึกษาที่ไม่บกพร่องอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) อย่างไรก็ตามพบว่าสัดส่วน ของนักศึกษาที่มีอนามัยช่องปากไม่ดีในแต่ละกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นักศึกษาทั้งสองกลุ่มเป็นโรคปริทันต์ร้อยละ 100 สัดส่วนของนักศึกษาที่มีร่องลึกปริทันต์ ตั้งแต่ 4 มิลลิเมตรขึ้นไปในกลุ่มที่บกพร่องทางการยินสูงกว่าในกลุ่มที่ไม่บกพร่องอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (55.7% เปรียบเทียบกับ 24.1%, p<0.001) และมักจะพบร่องลึก ปริทันต์ตั้งแต่ 4 มิลลิเมตรขึ้นไปได้บ่อยในนักศึกษาที่มีอนามัยช่องปากไม่ดีของทั้งสองกลุ่ม บทสรุป: นักศึกษาที่บกพร่องและที่ไม่บกพร่องทางการได้ยินจำนวนมากมีอนามัยช่องปาก ไม่ดี นักศึกษาทุกคนของทั้งสองกลุ่มเป็นโรคปริทันต์ แต่จะพบสภาวะที่มีร่องลึกปริทันต์ได้ ในกลุ่มที่บกพร่องทางการได้ยินมากกว่าในกลุ่มที่ไม่บกพร่องen_US
dc.description.abstractObjective: To compare the oral hygiene and periodontal status of hearing and non-hearing impaired students. Materials and Methods: Ninety seven hearing impaired and 83 non-hearing impaired students at Ratchasuda College, Mahidol University were surveyed. A self-reported questionnaire was used to collect personal information and oral hygiene behavior. A single calibrated examiner performed oral assessments using plaque score (percentage of sites with plaque) and the Community Periodontal Index (CPI). Oral hygiene status was classified according to the plaque score as < 20%-good, 20-40%-fair and >40%-poor. Periodontal status was classified according to the highest CPI score of the mouth. Mann-Whitney U Test and Chi square test were used for statistical analysis. Results: The mean plaque score of the hearing impaired was statistically higher than the non-hearing impaired group (p<0.05). However, the proportion of students with poor oral hygiene in each group were comparable. In both groups, periodontal disease was found in 100% of the students. The proportion of students with pocket depth ³ 4 mm in the hearing impaired group was significantly higher than the non-hearing impaired group (55.7% versus 24.1%, p<0.001). In both groups, pocket depths of ³ 4 mm were more prevalent among the students with poor oral hygiene status. Conclusion: Numerous students in both hearing and non-hearing impaired groups had poor oral hygiene. Periodontal disease was found in all students of both groups but periodontal pocket was more prevalent in the hearing impaired group.
dc.identifier.citationวาริธร โฆษิตภูมิเวท, เพ็ญพรรณ เลาหพันธ์, ฐิติวรรณ บูรณะวิเชษฐกุล, พรพรรณ์ สมบูรณ์. สภาวะปริทันต์ของผู้ที่บกพร่องทางการได้ยินในวัยหนุ่มสาวกลุ่มหนึ่ง. ว ทันต มหิดล. 2556; 33(3): 184-92.en_US
dc.identifier.issn0125-5614 (printed)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1055
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectบกพร่องทางการได้ยินen_US
dc.subjectโรคปริทันต์en_US
dc.subjectวัยหนุ่มสาวen_US
dc.subjectสภาวะปริทันต์en_US
dc.subjectอนามัยช่องปากen_US
dc.subjectHearing impaireden_US
dc.subjectPeriodontal diseaseen_US
dc.subjectYoung adultsen_US
dc.subjectPeriodontal statusen_US
dc.subjectOral hygieneen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectวิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล
dc.subjectMahidol Dental Journal
dc.titleสภาวะปริทันต์ของผู้ที่บกพร่องทางการได้ยินในวัยหนุ่มสาวกลุ่มหนึ่งen_US
dc.title.alternativePeriodontal status in a group of hearing impaired young adults.en_US
dc.typeArticleen_US
dcterms.dateAccepted2013-08-26
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://www.dt.mahidol.ac.th/division/offeducation/education_1_6/wittayasarn/33-2556/V.33No.3_2013.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
dt-ar-penpan-2013.pdf
Size:
2.34 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections