Publication:
ผลของโปรแกรมส่งเสริมความสามารถตนเองในการป้องกันอาการปวดหลังจากการทํางานของพนักงานเก็บขนขยะสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดสมุทรปราการ

dc.contributor.authorSakulvalai Cheawbangyang
dc.contributor.authorแอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ
dc.contributor.authorสุรินทร กลัมพากร
dc.contributor.authorสุคนธา ศิริ
dc.contributor.authorAnn Jirapongsuwan
dc.contributor.authorSurintorn Kalampakorn
dc.contributor.authorSukhontha Siri
dc.contributor.authorสกุลวลัย เชี่ยวบางยาง
dc.date.accessioned2025-04-23T03:58:12Z
dc.date.available2025-04-23T03:58:12Z
dc.date.created2568-04-23
dc.date.issued2566
dc.description.abstractอาการปวดหลังทําให้การทํากิจกรรมและประสิทธิภาพการทํางานลดลงการปรับเปลี่ยนท่าทางทํางานตามหลักการยศาสตร์ควบคู่กับการออกกําลังกายช่วยลดอาการปวดหลังได้ วัตถุประสงค์ของการวิจัยกึ่งทดลองนี้ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความสามารถตนเองในการป้องกันอาการปวดหลังจากการทํางานของพนักงานเก็บขนขยะ โดยประยุกต์แนวคิดการรับรู้ความสามารถตนเองและหลักการยศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานเก็บขนขยะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดสมุทรปราการ คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ได้กลุ่มทดลอง 14 คน ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความสามารถตนเองในการป้องกันอาการปวดหลังจากการทํางานร่วมกิจกรรม 4 ครั้ง กลุ่มเปรียบเทียบ 15 คน ดูแลสุขภาพตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบสอบถามวัดความอ่อนตัว และประเมิน REBAจํานวน 3 ครั้ง ที่ก่อนทดลอง หลังทดลองสัปดาห์ที่ 5 และ 7 ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองสัปดาห์ที่ 5 และ 7 กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลดีของการปฏิบัติตนพฤติกรรมป้องกันอาการปวดหลังและความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหลังเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการทดลอง และ แตกต่างกับกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p <0.05) คะแนนเฉลี่ยอาการปวดหลังลดลง กว่าก่อนการทดลอง และ แตกต่างกับกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p <0.05) และ คะแนนเฉลี่ยความเสี่ยงทางการยศาสตร์ลดลง ในสัปดาห์ที่ 5 และ 7 และแตกต่างกับกลุ่มเปรียบเทียบในสัปดาห์ที่ 7 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p <0.05) ผลการศึกษานี้เสนอแนะให้พยาบาลอาชีวอนามัยและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถนําโปรแกรมนี้ไปใช้ส่งเสริมความสามารถตนเอง ในการป้องกันอาการปวดหลังจากการทํางานของพนักงานเก็บขน
dc.description.abstractWork-related back pain causes limitations in activity and decreased productivity. Modifying ergonomic work behaviors along with exercise can help reduce back pain symptoms. This quasi-experimental research aimed to investigate the effects of self-efficacy promoting program on work-related back pain preventive behaviors among garbage collectors under the local government organization on self-efficacy in the practice of preventing work-related back pain, outcome expectation of preventing work-related back pain, practices of preventing work-related back pain, back muscle flexibility, ergonomic risk, and back pain, by applying the self-efficacy concept of Bandura and ergonomics principle. The participants were garbage collectors under the local government organization, Samut Prakan province, Thailand, using a purposive sampling method. The participants included 29 workers; they were divided into; 14 workers in the experimental group and 15 workers in the comparison group. The experimental group received the effects of a self-efficacy promoting program on work-related back pain prevention, with four activities. The program activities included learning, successful models, encouraging and goal setting. Data were collected by using questionnaires, back pain assessment form and REBA (Rapid Entire Body Assessment) before and after the intervention at week 5 and week 7. The results revealed that after the intervention in the 5th and 7th week, the experimental group was statistically significantly higher in self-efficacy (M5th 59.29+3.07; M7th 56.43+4.03) outcome expectation (M5th 45.50+4.22; M7th 39.93+1.69) practices of preventing work-related back pain (M5th 44.64+4.34; M7th 42.57+1.50) and back muscle flexibility scores (M5th 14.57+5.18; M7th 15.66+7.00) than before the intervention (Mpre45.64+2.27; Mpre37.00+1.71; Mpre38.00+4.24; Mpre9.84+5.01,respectively) and higher than the comparison group (p <0.05) and had a statistically significant decrease in back pain scores (M5th 0.86+0.770; M7th 0.50+0.855) than before the intervention (Mpre4.24+2.016) and lower than the comparison group (p <0.05). The mean score of ergonomic risk (M5th 6.57+1.651; M7th 6.14+1.167) lower than before the intervention (Mpre8.00+1.240) and lower than the comparison group (p <0.05) in week 7. This finding suggested that occupational health nurse or public health officer at the local government organization can apply this program to promote self-efficacy to prevent work-related back pain among the garbage collectors’ behavior.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 53, ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2566), 518-539
dc.identifier.issn2697-584X (Print)
dc.identifier.issn2697-5866 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/109710
dc.language.isotha
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rights.holderภาควิชาระบาดวิทยาคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectพนักงานเก็บขนขยะ
dc.subjectการรับรู้ความสามารถตนเอง
dc.subjectอาการปวดหลังจากการทํางาน
dc.subjectGarbage collectors
dc.subjectSelf-efficacy
dc.subjectWork-related back pain
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมความสามารถตนเองในการป้องกันอาการปวดหลังจากการทํางานของพนักงานเก็บขนขยะสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดสมุทรปราการ
dc.title.alternativeEffects of Self-Efficacy Promoting Program for Work-Related Back Pain Preventive among Garbage Collectors under the Local Government Organization in Samut Prakan Province
dc.typeResearch Article
dcterms.accessRightsopen access
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/jph/article/view/261488/180787
oaire.citation.endPage539
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage518
oaire.citation.titleวารสารสาธารณสุขศาสตร์
oaire.citation.volume53
oaire.versionAccepted Manuscript
oairecerif.author.affiliationมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุข
oairecerif.author.affiliationมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาระบาดวิทยา

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
ph-ar-ann-2566.pdf
Size:
5.63 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

Collections