Publication: การศึกษาอัตราการเกิดการบาดเจ็บของนักกีฬาฟันดาบสากลไทยในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 38 ณ จังหวัดตรัง
Issued Date
2554
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาแห่งประเทศไทย (สวกท)
Bibliographic Citation
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา. ปีที่ 11, ฉบับที่ 2, ( 2554), 178-185
Suggested Citation
มนต์ชัย โชติดาว, วีรวัฒน์ ลิ้มรุ่งเรืองรัตน์, โอภาส สินเพิ่มสุขสกุล, Monchai Chottidao, Weerawat Limroongreungrat, Opas Sinphurmsuksakul การศึกษาอัตราการเกิดการบาดเจ็บของนักกีฬาฟันดาบสากลไทยในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 38 ณ จังหวัดตรัง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา. ปีที่ 11, ฉบับที่ 2, ( 2554), 178-185. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1422
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การศึกษาอัตราการเกิดการบาดเจ็บของนักกีฬาฟันดาบสากลไทยในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 38 ณ จังหวัดตรัง
Alternative Title(s)
The study of Thai’s fencers injuries in 38 th National Sports Competition Trang
Other Contributor(s)
Abstract
การศึกษานี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการเกิดของการบาดเจ็บต่างๆ ในนักกีฬาฟันดาบสากลที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 38 ณ จังหวัดตรัง ซึ่งจากจำนวนนักกีฬาที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาฟันดาบสากล จานวน 97 ราย ผู้วิจัยสามารถเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ได้ จานวน 63 ราย คิดเป็น 64.94 %ประกอบด้วย นักกีฬาชาย 41 ราย (65.1%) อายุเฉลี่ย 22.77±3.39 ปี และนักกีฬาหญิง 22 ราย (34.9%) อายุเฉลี่ย 20.45±3.36 ปี ผลการศึกษาพบว่า ในระยะเวลา 3 เดือนก่อนจนถึงระหว่างการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ตรังเกมส์ มีนักกีฬาดาบสากลมีอาการบาดเจ็บ จานวน 39 ราย (61.9%) โดยการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ จะเกิดในระหว่างการฝึกซ้อม จานวน 31 ราย (79.48%) เกิดในระหว่างการแข่งขัน จานวน 8 ราย (20.52%) ตำแหน่งของการบาดเจ็บที่พบมากที่สุดของนักกีฬาดาบสากล คือ ข้อเท้า จานวน 18 ราย (46.15%) รองลงมาคือ ข้อเข่า จานวน 11 ราย (28.02%) ข้อมือ จานวน 6 ราย (15.38%) และกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้า จานวน 4 ราย (10.25) สาเหตุหลักของการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นนั้นพบว่า เกิดจากตัวนักกีฬาเอง หรือไม่ได้เกิดจากการปะทะ จำนวน 15 ราย (38.46%) รองลงมา คือ เกิดจากการปะทะกับคู่ต่อสู้ จำนวน 9 ราย (23.08%) และพบว่า ปัจจัยภายในตัวนักกีฬาเอง ซึ่งเกี่ยวข้องในเรื่องของ การอบอุ่นร่างกายที่ไม่เหมาะสม การขาดเทคนิคในการเล่น อัตราการล้าที่เกิดขึ้นจากการฝึกซ้อมและการแข่งขัน หรือแม้กระทั่งภาวะ การฝึกมากเกินไป ซึ่งมีส่วนทาให้เกิดการบาดเจ็บได้
The purpose of this study was to investigate the Thai’s fencer injuries of 38th National Sports Competition in Trang Game. 97 fencer participants competed in this Game and data collecting was derived by interview athletes in competition. There were 63 fencers, 41 male (65.1%) and 22 female (34.9%) [Meanage of 22.77 ± 3.99 yr and 20.45 ± 3.36 yr respectively]. The results showed that 12 weeks period before National Sports Competition occur there were 39 cases of injury (61.9%). The most injury founded during of training 79.48 %, whereas the competition was 20.52 %. The sites of injury were ankle 46.15 %, knee 28.02 % wrist 15.38 % and thigh 10.25%. The main cause of injury is non-contacting or occurring by athletes oneself 38.46 %. The second caused 23.08 % by the opponent-contact. The factors contributing to fencing injuries were personal or internal athlete’s factors mainly inadequate warm-up, poor technique, muscles fatigue and over-training.
The purpose of this study was to investigate the Thai’s fencer injuries of 38th National Sports Competition in Trang Game. 97 fencer participants competed in this Game and data collecting was derived by interview athletes in competition. There were 63 fencers, 41 male (65.1%) and 22 female (34.9%) [Meanage of 22.77 ± 3.99 yr and 20.45 ± 3.36 yr respectively]. The results showed that 12 weeks period before National Sports Competition occur there were 39 cases of injury (61.9%). The most injury founded during of training 79.48 %, whereas the competition was 20.52 %. The sites of injury were ankle 46.15 %, knee 28.02 % wrist 15.38 % and thigh 10.25%. The main cause of injury is non-contacting or occurring by athletes oneself 38.46 %. The second caused 23.08 % by the opponent-contact. The factors contributing to fencing injuries were personal or internal athlete’s factors mainly inadequate warm-up, poor technique, muscles fatigue and over-training.