Publication: การศึกษากระบวนการสร้างแรงจูงใจในการเป็นพยาบาลวิชาชีพของนักศึกษาพยาบาลโดยการใช้การวิจัยเชิงทฤษฎีพื้นฐาน
Issued Date
2561
Resource Type
Language
tha
ISSN
0858-9739 (Print)
2672-9784 (Online)
2672-9784 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 24, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 249-263
Suggested Citation
ศิราณี เก็จกรแก้ว, พัชรินทร์ บุญรินทร์, วิไล นาป่า, Siranee Kejkornkaew, Patcharin Boonrin, Wilai Napa การศึกษากระบวนการสร้างแรงจูงใจในการเป็นพยาบาลวิชาชีพของนักศึกษาพยาบาลโดยการใช้การวิจัยเชิงทฤษฎีพื้นฐาน. รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 24, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 249-263. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44585
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การศึกษากระบวนการสร้างแรงจูงใจในการเป็นพยาบาลวิชาชีพของนักศึกษาพยาบาลโดยการใช้การวิจัยเชิงทฤษฎีพื้นฐาน
Alternative Title(s)
Motivation Process for Becoming Professional Nurse in Nursing Students: A Grounded Theory
Other Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสร้างแรงจูงใจในการเป็น
พยาบาลวิชาชีพของนักศึกษาพยาบาล ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีการวิจัยเชิงทฤษฎี
พื้นฐาน เก็บข้อมูลจากการสังเกตและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล คือ นักศึกษาพยาบาล จำนวน
25 ราย มีอายุระหว่าง 19-22 ปี เป็นนักศึกษาชาย 9 รายและนักศึกษาหญิง 19 ราย โดยนักศึกษา
ทุกรายมีประสบการณ์ขึ้นฝึกปฏิบัติบนคลินิก ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการสร้างแรงจูงใจใน
การเป็นพยาบาลวิชาชีพของนักศึกษาพยาบาล เกิดขึ้นเป็นลำดับต่อเนื่อง ประกอบด้วย แรงจูงใจ
ตั้งต้นในการเรียนพยาบาล การเผชิญกับสถานการณ์บนคลินิก และ กำหนดเป้าหมายการเรียน
พยาบาล โดยตลอดกระบวนการสร้างแรงจูงใจของนักศึกษามีปัจจัยที่มีผลทำให้แรงจูงใจของ
นักศึกษาเพิ่มขึ้นหรือลดลง คือปัจจัยที่เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนแนวความคิดและพฤติกรรมของ
นักศึกษาเพื่อรักษาแรงจูงใจของตนเองให้สามารถผ่านการเรียนพยาบาลไปได้ ทั้งนี้การเกิดแรง
จูงใจเพิ่มขึ้นหรือลดลงของนักศึกษาเป็นกระบวนการที่เป็นพลวัตสามารถเปลี่ยนกลับไปมาได้
ผลการศึกษาครั้งนี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนการศึกษาพยาบาลเพื่อให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของนักศึกษาพยาบาล ซึ่งผู้สอนเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการสร้างแรงจูงใจในการ
เรียนพยาบาลให้กับนักศึกษาและแนวทางการป้อนกลับนักศึกษาเชิงบวกเป็นอีกหนึ่งกลวิธีการ
สอนที่สำคัญ
The purpose of this study was to explore the motivation process in nursing students to be professional nurses. A qualitative methodology based on a grounded theory research was employed. The data was collected by means of observation and in-depth interviews with 25 nursing students, 6 males and 19 females, aged between 19–22 years who have clinical practice experience. The core category emerging from data analysis was motivation process for becoming professional nurse, which had subcategories: initial motivation to study nursing, encountering with clinical experience, and determining the goal of nursing study. In all of these process, the rise or drop of students’ motivation were affected by the factor on students’ changes of attitude and behavior to maintain their motivation throughout their study. Such increase and decrease of motivation is a dynamic and fluctuating process. The current results could guide the instruction and course management of nursing education in order to meet the needs of nursing students. Specifically, it provided a basis for those instructors to realize about their crucial role in motivating nursing students. The knowledge on an approach to giving positive feedback to students is another important strategy.
The purpose of this study was to explore the motivation process in nursing students to be professional nurses. A qualitative methodology based on a grounded theory research was employed. The data was collected by means of observation and in-depth interviews with 25 nursing students, 6 males and 19 females, aged between 19–22 years who have clinical practice experience. The core category emerging from data analysis was motivation process for becoming professional nurse, which had subcategories: initial motivation to study nursing, encountering with clinical experience, and determining the goal of nursing study. In all of these process, the rise or drop of students’ motivation were affected by the factor on students’ changes of attitude and behavior to maintain their motivation throughout their study. Such increase and decrease of motivation is a dynamic and fluctuating process. The current results could guide the instruction and course management of nursing education in order to meet the needs of nursing students. Specifically, it provided a basis for those instructors to realize about their crucial role in motivating nursing students. The knowledge on an approach to giving positive feedback to students is another important strategy.