Publication:
แนวทางการผลิตเสียงสําหรับเครื่องกระทบคลาสสิก

dc.contributor.authorวรรณภา ญาณวุฒิ
dc.contributor.authorธนสิทธิ์ ศิริพานิชวัฒนา
dc.contributor.authorWannapha Yannavut
dc.contributor.authorTanasit Siripanichwattana
dc.date.accessioned2025-05-19T08:15:14Z
dc.date.available2025-05-19T08:15:14Z
dc.date.created2568-05-19
dc.date.issued2567
dc.description.abstractงานวิจัยแนวทางการผลิตเสียงบนเครื่องกระทบคลาสสิก มุ่งเน้นไปที่การศึกษา รวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูล และนํามาสร้างแบบฝึกหัดเพื่อให้นักศึกษาได้ทดลองใช้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ในการผลิตเสียงที่ดีตามความต้องการและแตกต่างกันตามสัญลักษณ์ที่ต่างกัน โดยทีมผู้วิจัยได้ประพันธ์โน้ตเพลงสําหรับกลองทอมให้กลุ่มนักศึกษาผู้เข้าร่วมทดลองจํานวน 9 คนได้ทําการบรรเลงและฝึกซ้อมหลังจากได้รับโน้ตเป็นเวลา 1 วันเต็ม จึงทําการบันทึกเสียง จากนั้นได้ให้นักศึกษากลุ่มทดลองเข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการจากทีมผู้วิจัย เพื่อให้เข้าใจการทํางานของกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ อาทิ นิ้ว ข้อมือ แขน หัวไหล่ เป็นต้น เพื่อสามารถผลิตเสียงให้มีความดัง เบา ชัด คม สั้น ยาว ลึก ฯลฯ แตกต่างกันตามสัญลักษณ์และค่าโน้ตที่ต่างกันได้ชัดเจนขึ้น จากนั้นทําการบันทึกเสียงอีกครั้ง และจากการบันทึกเสียงทั้ง 2 ครั้ง ได้นําคลื่นเสียงไปวางลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทําให้ได้ทราบผลการวิจัยว่าเสียงที่ได้รับการฝึกใช้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ด้วยความเข้าใจมากขึ้นแล้ว ทําให้สามารถผลิตเสียงได้ตามความต้องการและตรงกับสัญลักษณ์ รวมทั้งค่าโน้ตต่างๆ ที่ปรากฏในบทประพันธ์ได้ชัดเจนขึ้น
dc.description.abstractThis research focuses on the significance of sound production on classical percussion instruments, emphasizing the study, data collection, and analysis required to develop practical exercises. A musical composition for tom-tom was provided to a group of nine students, who engaged in performance and practice after receiving notations for a full day. Sound recordings were made before and after practical training, during which students underwent hands-on training to understand the workings of different muscle groups, including fingers, wrists, arms, and shoulders. This training aimed to enable students to produce sounds with varying qualities such as loudness, softness, clarity, sharpness, shortness, length, depth, etc., corresponding to different symbols and notations. Subsequently, sound recordings from both sessions were processed using computer software, revealing a clearer understanding of sound production following targeted muscle training. This research contributes valuable insights into the ability to produce and manipulate sound according to specific requirements, symbols, and various notations, including the distinct representation of different parameters outlined in the composition.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationMahidol Music Journal. ปีที่ 7, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2567), 20-38
dc.identifier.issn2774-132X (Online)
dc.identifier.issn2586-9973 (Print)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/110223
dc.language.isotha
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectSound Production Methods
dc.subjectClassical Percussion
dc.subjectแนวทางการผลิตเสียง
dc.subjectเครื่องกระทบคลาสสิก
dc.titleแนวทางการผลิตเสียงสําหรับเครื่องกระทบคลาสสิก
dc.title.alternativeSOUND PRODUCTION METHODS FOR CLASSICAL PERCUSSION INSTRUMENTS
dc.typeArticle
dcterms.accessRightsopen access
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so04.tci-thaijo.org/index.php/mmj/article/view/270451/184886
oaire.citation.endPage38
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage20
oaire.citation.titleMahidol Music Journal
oaire.citation.volume7
oaire.versionAccepted Manuscript
oairecerif.author.affiliationมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
oairecerif.author.affiliationสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
ms-ar-wannapha-2567.pdf
Size:
1.49 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

Collections