Publication: Factors Associated with the Occurrence of Peripheral Arterial Disease in Patients with Type 2 Diabetes Mellitus
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.2), No. 4 ( October-December 2017), 21-30
Suggested Citation
Nguyen Thi Anh, อรพรรณ โตสิงห์, Orapan Thosingha, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, Wimolrat Puwarawuttipanit Factors Associated with the Occurrence of Peripheral Arterial Disease in Patients with Type 2 Diabetes Mellitus. Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.2), No. 4 ( October-December 2017), 21-30. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44147
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Associated with the Occurrence of Peripheral Arterial Disease in Patients with Type 2 Diabetes Mellitus
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายในผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2
Abstract
Purpose: To study the occurrence of peripheral arterial disease (PAD) and factors associated with the occurrence of PAD among patients with type 2 diabetes mellitus (T2DM).
Design: Descriptive design.
Methods: The sample composed of 136 adult patients with T2DM who were treated at Bach Mai hospital, Hanoi, Vietnam. Data were collected using Ankle Brachial Index (ABI) to assess the occurrence of PAD, and 4 questionnaires: patients’ demographic data, clinical information, the self-efficacy for diabetes, and knowledge about PAD. Chi – Square was employed to test association between studied variables.
Main findings: The findings revealed that 16.18% had PAD; 36.36% of those with PAD had stage 4-ulceration or gangrene; 63.64% had location of PAD at tibia-peroneal artery and 31.81% at femoro-popliteal artery. Co-morbid diseases, HbA1c, and self-efficacy were significantly associated with the occurrence of PAD (p < .05). There was no association between the occurrence of PAD and knowledge about PAD (p > .05).
Conclusion and recommendations: Nurses can empower patients with T2DM to increase self-efficacy as well as providing them with information to control the level of HbA1c and co-morbid diseases.
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ในผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 ที่มารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลบัคมาย ประเทศเวียดนาม เก็บข้อมูลด้วยการประเมินการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ด้วยการวัดดัชนีความดันเลือดเทียบหลอดเลือดแดงแขนกับขา และแบบสอบถาม จำนวน 4 ชุด: แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามข้อมูลทางคลินิกและโรคร่วม แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะในตนเองด้านการดูแลและควบคุมโรคเบาหวาน และแบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ใช้สถิติ ไคสแควร์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 16.18 เกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ร้อยละ 36.36 ของผู้ที่เกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย เป็นระยะที่ 4-ulceration or gangrene ร้อยละ 63.64 เกิดที่ตำแหน่ง tibia-peroneal artery และร้อยละ 31.81 เกิดที่ตำแหน่ง femoro-popliteal artery การมีโรคร่วม ระดับน้ำตาลสะสม และการรับรู้สมรรถนะในตนเองมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (p < .05) แต่ความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายไม่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (p > .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถใช้วิธีการสร้างความมั่นใจและสร้างพลังเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 รับรู้สมรรถนะในตนเองเพิ่มขึ้น ร่วมกับการให้ข้อมูลความรู้ในการควบคุมระดับน้ำตาลสะสม และควบคุมภาวะโรคร่วม ทั้งนี้เพื่อลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ในผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 ที่มารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลบัคมาย ประเทศเวียดนาม เก็บข้อมูลด้วยการประเมินการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ด้วยการวัดดัชนีความดันเลือดเทียบหลอดเลือดแดงแขนกับขา และแบบสอบถาม จำนวน 4 ชุด: แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามข้อมูลทางคลินิกและโรคร่วม แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะในตนเองด้านการดูแลและควบคุมโรคเบาหวาน และแบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ใช้สถิติ ไคสแควร์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 16.18 เกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ร้อยละ 36.36 ของผู้ที่เกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย เป็นระยะที่ 4-ulceration or gangrene ร้อยละ 63.64 เกิดที่ตำแหน่ง tibia-peroneal artery และร้อยละ 31.81 เกิดที่ตำแหน่ง femoro-popliteal artery การมีโรคร่วม ระดับน้ำตาลสะสม และการรับรู้สมรรถนะในตนเองมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (p < .05) แต่ความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายไม่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (p > .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถใช้วิธีการสร้างความมั่นใจและสร้างพลังเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 รับรู้สมรรถนะในตนเองเพิ่มขึ้น ร่วมกับการให้ข้อมูลความรู้ในการควบคุมระดับน้ำตาลสะสม และควบคุมภาวะโรคร่วม ทั้งนี้เพื่อลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย