Publication: Comparison of Three Nephrometry Scoring Systems in Predicting the Patient Outcomes Following Partial or Radical Nephrectomy
Issued Date
2016
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Sungaikolok Hospital
Department of surgery Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of surgery Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 3 (Jul-Sep 2016), 163-170
Suggested Citation
Chinnakhet Ketsuwan, Pokket Sirisreetreerux, Kittinut Kijvikai, Wit Viseshsindh, Wisoot Kongchareonsombat, Charoen Leenanupunth, Wachira Kochakarn, Premsant Sangkum, ชินเขต เกษสุวรรณ, ปกเกศ ศิริศรีตรีรักษ์, กิตติณัฐ กิจวิกัย, วิทย์ วิเศษสินธุ์, วิสูตร คงเจริญสมบัติ, เจริญ ลีนานุพันธุ์, วชิร คชการ, เปรมสันติ์ สังฆ์คุ้ม Comparison of Three Nephrometry Scoring Systems in Predicting the Patient Outcomes Following Partial or Radical Nephrectomy. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 3 (Jul-Sep 2016), 163-170. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79606
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Comparison of Three Nephrometry Scoring Systems in Predicting the Patient Outcomes Following Partial or Radical Nephrectomy
Alternative Title(s)
การเปรียบเทียบการใช้ค่าเนโฟรเมทรีสามระบบเพื่อทำนายผลการรักษาในผู้ป่วยที่ผ่าตัดไตแบบบางส่วนหรือการผ่าตัดไตแบบทั้งหมด
Author(s)
Chinnakhet Ketsuwan
Pokket Sirisreetreerux
Kittinut Kijvikai
Wit Viseshsindh
Wisoot Kongchareonsombat
Charoen Leenanupunth
Wachira Kochakarn
Premsant Sangkum
ชินเขต เกษสุวรรณ
ปกเกศ ศิริศรีตรีรักษ์
กิตติณัฐ กิจวิกัย
วิทย์ วิเศษสินธุ์
วิสูตร คงเจริญสมบัติ
เจริญ ลีนานุพันธุ์
วชิร คชการ
เปรมสันติ์ สังฆ์คุ้ม
Pokket Sirisreetreerux
Kittinut Kijvikai
Wit Viseshsindh
Wisoot Kongchareonsombat
Charoen Leenanupunth
Wachira Kochakarn
Premsant Sangkum
ชินเขต เกษสุวรรณ
ปกเกศ ศิริศรีตรีรักษ์
กิตติณัฐ กิจวิกัย
วิทย์ วิเศษสินธุ์
วิสูตร คงเจริญสมบัติ
เจริญ ลีนานุพันธุ์
วชิร คชการ
เปรมสันติ์ สังฆ์คุ้ม
Abstract
Background: Multiple nephrometry scoring systems are developed to evaluate anatomical characteristics of renal mass and help the preoperative decision making for partial nephrectomy. However, there are limited data on the comparison among these scoring systems in predicting perioperative and postoperative outcomes after surgical treatment of renal mass.
Objective: To compare the correlation of three nephrometry scoring systems with perioperative and postoperative outcomes following surgical treatment of renal mass.
Materials and Methods: We conducted a retrospective analysis including the patients with renal mass (diameter < 7 cm) who underwent partial nephrectomy or radical nephrectomy. Three nephrometry scores were evaluated in each patient, including centrality-index (C›Index), preoperative aspects and dimensions used for anatomic (PADUA) score, and radius, exophyic/endophytic, nearness, anterior/posterior, and location (R.E.N.A.L.) nephrometry scores. We evaluated the differences between the partial and radical nephrectomy groups in terms of these three mean scoring systems and analyzed the correlation with postoperative outcomes.
Results: A total of 83 patients were included. There were significant differences in the mean scores of these three systems between partial and radical nephrectomy groups (6.5 vs 8.6, P < 0.001 in R.E.N.A.L nephrometry
score, 7.3 vs 8.7, P < 0.001 in PADUA score, and 2.2 vs 1.3, P < 0.005 in C-Index). With regard to the outcome of the partial nephrectomy, R.E.N.A.L. nephrometry score was significantly associated with the warm ischemia time (WIT) and percentage change in estimated glomerular filtration rate (eGFR) (P = 0.001). PADUA score was significantly associated with WIT (P = 0.039), whereas C-Index was significantly associated with percentage change in eGFR (P = 0.011). There was no significant correlation among all three scoring systems with operative time, postoperative complications and estimated blood loss.
Conclusion: All three nephrometry scores were found to be the useful tools aiding the surgeon decision between partial and radical nephrectomy. R.E.N.A.L. nephrometry score had more benefit over C-index and PADUA score in the aspect of correlation with WIT and percentage change in postoperative eGFR in the patients who underwent partial nephrectomy. However, further large-scale prospective studies are needed to confirm our results.
บทนำ: การคำนวฯค่าเนโฟรเมทรี (nephrometry) ระบบต่างๆ ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อประเมินลักษณะทางกายวิภาคของเนื้องอกที่ไตขนาดเล็ก เพื่อช่วยในการตัดสินใจก่อนผ่าตัด ว่าเหมาะสมที่จะทำการผ่าตัดไตแบบบางส่วนหรือไม่ อย่างไรก็ตาม ยังมีข้อมูลที่จำกัดสำหรับการเปรียบเทียบการใช้ค่าเนโฟรเมทรีแต่ละระบบในการทำนายผลการรักษาทั้งระหว่างการผ่าตัดและผลการรักษาหลังการผ่าตัดก้อนที่ไตขนาดเล็ก วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างค่าเนพโฟรเมทรีแต่ละระบบกับผลการรักษาระหว่างการผ่าตัดและหลังการผ่าตัดที่ไตขนาดเล็ก วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาโดยวิเคราะห์แบบย้อนหลังในผู้ป่วยที่มีก้อนที่ไตขนาดเล็ก (เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 เซนติเมตร) และได้รับการผ่าตัดไตแบบบางส่วนหรือผ่าตัดไตออกทั้งหมด และคำนวณค่าเนโฟรเมทรีทั้ง 3 ระบบคือ ค่า C-Index ค่า PADUA และค่า R.E.N.A.L จากนั้นคำนวณหาความหาความแตกต่างระหว่างการผ่าตัดไตแบบบางส่วนกับการผ่าตัดไตออกทั้งหมด และวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ของค่าเนโฟรเมทรีทั้ง 3 ระบบกับผลลัพธ์ของการผ่าตัด ผลลัพท์: ผู้ป่วยเข้าร่วมงานวิจัยทั้งหมด 86 คน พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระหว่างค่าเฉลี่ยของค่าเนพโฟรเมทรีของการผ่าตัดไตแบบบางส่วนและผ่าตัดไตออกทั้งหมด (ค่า R.E.N.A.L. 6.5 และ 8.6, P < 0.001; ค่า PADUA 7.3 และ 8.7, P < 0.001; ค่า C-Index 2.2 และ 1.3, P < 0.005 ) สำหรับผลการรักษาโดยการผ่าตัดไตแบบบางส่วน ค่า R.E.N.A.L. มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ไตขาดเลือดและการเปลี่ยนแปลงของการทำงานของไตที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (P = 0.001) ค่า PADUA จะสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ไตขาดเลือดอย่างมีนัยสำคัญ (P = 0.039) ในขณะที่ค่า C-Index สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของการทำงานของไตที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (P = 0.011) ค่าเนโฟรเมทรีทั้งสามระบบไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับระยะเวลาการผ่าตัด การเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด และปริมาณที่เสียเลือดระหว่างการผ่าตัด สรุป: ค่าเนโฟรเมทรีทั้งสามระบบมีประโยชน์ในการช่วยแพทย์ตัดสินใจเลือกการผ่าตัดไตแบบบางส่วนหรือการผ่าตัดไตออกทั้งหมด ค่า R.E.N.A.L. จะมีประโยชน์มากกว่าค่า C-Index และ ค่า PADUA ในแง่ความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ไตขาดเลือด และการเปลี่ยนแปลงการทำงานของไตที่ลดลงในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดไตแบบบางส่วน อย่างไรก็ตาม การศึกษาขนาดใหญ่ในอนาคตที่เก็บข้อมูลแบบไปข้างหน้ายังมีความจำเป็นเเพื่อยืนยันผลลัพธ์ของการวิจัยนี้
บทนำ: การคำนวฯค่าเนโฟรเมทรี (nephrometry) ระบบต่างๆ ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อประเมินลักษณะทางกายวิภาคของเนื้องอกที่ไตขนาดเล็ก เพื่อช่วยในการตัดสินใจก่อนผ่าตัด ว่าเหมาะสมที่จะทำการผ่าตัดไตแบบบางส่วนหรือไม่ อย่างไรก็ตาม ยังมีข้อมูลที่จำกัดสำหรับการเปรียบเทียบการใช้ค่าเนโฟรเมทรีแต่ละระบบในการทำนายผลการรักษาทั้งระหว่างการผ่าตัดและผลการรักษาหลังการผ่าตัดก้อนที่ไตขนาดเล็ก วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างค่าเนพโฟรเมทรีแต่ละระบบกับผลการรักษาระหว่างการผ่าตัดและหลังการผ่าตัดที่ไตขนาดเล็ก วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาโดยวิเคราะห์แบบย้อนหลังในผู้ป่วยที่มีก้อนที่ไตขนาดเล็ก (เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 เซนติเมตร) และได้รับการผ่าตัดไตแบบบางส่วนหรือผ่าตัดไตออกทั้งหมด และคำนวณค่าเนโฟรเมทรีทั้ง 3 ระบบคือ ค่า C-Index ค่า PADUA และค่า R.E.N.A.L จากนั้นคำนวณหาความหาความแตกต่างระหว่างการผ่าตัดไตแบบบางส่วนกับการผ่าตัดไตออกทั้งหมด และวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ของค่าเนโฟรเมทรีทั้ง 3 ระบบกับผลลัพธ์ของการผ่าตัด ผลลัพท์: ผู้ป่วยเข้าร่วมงานวิจัยทั้งหมด 86 คน พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระหว่างค่าเฉลี่ยของค่าเนพโฟรเมทรีของการผ่าตัดไตแบบบางส่วนและผ่าตัดไตออกทั้งหมด (ค่า R.E.N.A.L. 6.5 และ 8.6, P < 0.001; ค่า PADUA 7.3 และ 8.7, P < 0.001; ค่า C-Index 2.2 และ 1.3, P < 0.005 ) สำหรับผลการรักษาโดยการผ่าตัดไตแบบบางส่วน ค่า R.E.N.A.L. มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ไตขาดเลือดและการเปลี่ยนแปลงของการทำงานของไตที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (P = 0.001) ค่า PADUA จะสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ไตขาดเลือดอย่างมีนัยสำคัญ (P = 0.039) ในขณะที่ค่า C-Index สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของการทำงานของไตที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (P = 0.011) ค่าเนโฟรเมทรีทั้งสามระบบไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับระยะเวลาการผ่าตัด การเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด และปริมาณที่เสียเลือดระหว่างการผ่าตัด สรุป: ค่าเนโฟรเมทรีทั้งสามระบบมีประโยชน์ในการช่วยแพทย์ตัดสินใจเลือกการผ่าตัดไตแบบบางส่วนหรือการผ่าตัดไตออกทั้งหมด ค่า R.E.N.A.L. จะมีประโยชน์มากกว่าค่า C-Index และ ค่า PADUA ในแง่ความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ไตขาดเลือด และการเปลี่ยนแปลงการทำงานของไตที่ลดลงในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดไตแบบบางส่วน อย่างไรก็ตาม การศึกษาขนาดใหญ่ในอนาคตที่เก็บข้อมูลแบบไปข้างหน้ายังมีความจำเป็นเเพื่อยืนยันผลลัพธ์ของการวิจัยนี้