Publication:
การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศในการทำงานทางทันตแพทย์

dc.contributor.authorบวร คลองน้อยen_US
dc.contributor.authorวันวิสาข์ ศรีสุเมธชัยen_US
dc.contributor.authorBoworn Klongnoien_US
dc.contributor.authorVanvisa Sresumatchaien_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. ภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม๊กซิลโลเฟเซียลen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาชีวสถิติen_US
dc.date.accessioned2020-12-21T15:49:02Z
dc.date.available2020-12-21T15:49:02Z
dc.date.created2563-12-21
dc.date.issued2560
dc.description.abstractในประเทศไทยการใช้ระบบข้อมูลทันตกรรมทางทันตกรรมในการรักษาประวัติทางทันตกรรมยังคงมีข้อจำกัดอยู่ภายใต้กฎระเบียบของกระทรวงสาธารณสุขประเทศไทย ที่กำหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพต้องรักษาเอกสารทางการแพทย์และทันตกรรมที่ถูกต้องและครบถ้วน เพื่อวัตถุประสงค์ในการออกใบอนุญาต รวมถึงการบันทึกข้อมูลเหล่านี้ต้องได้รับการดูแลเป็นเวลาอย่างน้อยห้าปีนับจากวันที่จัดทาข้อมูล ระบบบันทึกข้อมูลทางทันตกรรมที่มีประสิทธิภาพสามารถอำนวยความสะดวกภายใต้ข้อกำหนดนี้ได้โดยการตรวจสอบเอกสารและการประมวลผลข้อมูลทั้งหมด งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุงกระบวนการจัดเก็บ ข้อมูล โดยใช้ระบบสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะด้านข้อมูลทันตกรรม ซึ่งดำเนินการในสามขั้นตอน การศึกษานี้ได้พัฒนาขึ้นตามวัฏจักรการพัฒนาระบบงาน (SDLC) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและออกแบบโปรแกรมประยุกต์ทางคลินิกเพื่ออำนวยความสะดวกในการจัดการข้อมูล รวมถึงการปฏิบัติการทางทันตกรรม การศึกษานี้เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการรวบรวมข้อมูลทางคลินิกทันตกรรม ในด้านที่เกี่ยวกับประวัติผู้ป่วย การรักษาทางทันตกรรม การติดตามผลและการรายงาน เพื่อที่จะช่วยในการปฏิบัติทางคลินิก ระบบข้อมูลทันตกรรมต้นแบบนี้เป็นรูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการทดลองทางคลินิกที่กว้างขึ้นและการดำเนินการเพื่อสนับสนุนโมเดลทางคลินิกต่างๆ ซึ่งผลการทดลองใช้งานพบว่า ผู้ใช้รายงานว่ามีความพึงพอใจในระบบสารสนเทศทันตกรรม โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.44 (พอใจมาก) (คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจ 4.70) ส่วนด้านที่ได้คะแนนน้อยที่สุดคือความยืดหยุ่นของระบบในการตอบสนองความต้องการเอกสารของผู้ใช้ (คะแนนเฉลี่ย 4.20) ระบบสามารถพัฒนาการเชื่อมต่อ และการเชื่อมโยงข้อมูลเพิ่มเติมกับระบบข้อมูลรังสีวิทยา (PACS) ฐานข้อมูลทางพยาธิวิทยาหรือฐานข้อมูล เวชระเบียนเพื่อนาเข้าและแบ่งปันข้อมูลการใช้งานได้ง่ายขึ้นen_US
dc.description.abstractIn Thailand the use of dental electronic data systems to maintain dental records is still limited. The Ministry of Public Health in Thailand regulation requires the practitioners to maintain accurate and complete documentation of all medical and dental treatment. For the purpose of licensing these records must be maintained for at least five years from the date of preparation. A robust dental record system can facilitate this requirement by ensuring that complete documentation and data processing. The research aims to improve these processes by applying information systems to address specific issues for dental information and was performed in two phases. This study was developed in accordance with the System Development Life Cycle - SDLC, using the following three steps. The goal of this study was to develop and design a clinical application to facilitate data management in dental clinical practice. The study involved the application of information technology to the process of gathering clinical dental information pertaining to patient history, dental treatment, follow-up and reporting in order to facilitate clinical practice. This prototype dental information system is to serve as an information technology model for wider clinical trials and implementation to support various clinical models. The users reported a general level of satisfaction with the new dental information system with average score 4.44 (very satisfied). The specific aspect that was more highly appraised was the ability to create clinical and administrative reports (average satisfaction score 4.70) whereas the area least scored was system flexibility in addressing user documentation needs (average score 4.20). The system can be developed additional connectivity and data linkage to radiology data systems (PACS), pathology databases or medical records databases for easier information importation and sharing.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 40, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2560), 147-164en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/60312
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectสารสนเทศทางทันตกรรมen_US
dc.subjectวัฏจักรการพัฒนาระบบงานen_US
dc.subjectสารสนเทศทางคลินิกen_US
dc.subjectDentistry information systemen_US
dc.subjectSystem Development Life Cycle –SDLCen_US
dc.subjectClinical informationen_US
dc.titleการวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศในการทำงานทางทันตแพทย์en_US
dc.title.alternativeAnalysis and Design Information System in Dentistryen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-vanvisa-2560.pdf
Size:
749.63 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections