Publication: การจัดกิจกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลตนเองของผู้ป่วยในโรงพยาบาลทหารผ่านศึก
Issued Date
2555
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Bibliographic Citation
รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 35, ฉบับที่ 3 (ก.ค.-ก.ย. 2555), 189-194
Suggested Citation
ปิยภัทร บุญสำเร็จ, มาริษา ภู่ภิญโญกุล, สุรชัย จิวเจริญสกุล, Piyapath Boonsumrej, Marisa Phupinyokul, Surachai Jewcharoensakul การจัดกิจกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลตนเองของผู้ป่วยในโรงพยาบาลทหารผ่านศึก. รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 35, ฉบับที่ 3 (ก.ค.-ก.ย. 2555), 189-194. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79773
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การจัดกิจกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลตนเองของผู้ป่วยในโรงพยาบาลทหารผ่านศึก
Alternative Title(s)
Activity for Rehabilitation and Self - Care Precision of Patients in Veterans Hospital
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพของทหารผ่านศึกพิการของผู้ป่วยในโรงพยาบาลทหารผ่านศึกหลังจากที่มีการบาดจากสงครามเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตให้ทหารผ่านศึกสามารถช่วยเหลือตนเองได้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย คือผู้ป่วยทหารผ่านศึกพิการที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไปจำนวนทั้งสิ้น 34 คน โดยการคัดเลือกแบบเจาะจง เข้าร่วมกิจกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพ ใช้ระยะเวลา 6 เดือน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) รูปแบบกิจกรรมในการฟื้นฟูสมรรถภาพ 2) แบบประเมินสุขภาพของ ICF 3) แผนการบันทึกทางการพยาบาล 4) แบบประเมิน Barthel Index Thai Version วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติ t - test ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย: การจัดกิจกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลตนเองของทหารผ่านศึกพบว่า ระดับคะแนนก่อนและหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 โดยพบว่าผู้ป่วยมีความสามารถในการเคลื่อนย้ายตนเอง สามารถใช้รถเข็นในการเคลื่อนที่ได้ รวมทั้งสามารถรับประทานอาหารได้เอง
The purposes of the research were to develop of activity rehabilitation therapy in patients and self – care precision of patients after war injury because health and happiness for life. Populations were patients in Veterans Hospital by specific for admit since 5 years total men 34. Than selection by part illness dependent patients after physical therapy then rehabilitation program for occupation therapy. Tools were 1) Assessment for Independent Capability Functions 2) Modified Barthel Index Thai Version 3) Program for Rehabilitation 4) Nurse’s Note Documents. The data were analyzed by t – test, mean, percents and standard deviation. Results: This research were that the development of rehabilitation therapy was at the level good. The mean of self – care significantly at the level of 0.05. The mean was after activity that good for health care.
The purposes of the research were to develop of activity rehabilitation therapy in patients and self – care precision of patients after war injury because health and happiness for life. Populations were patients in Veterans Hospital by specific for admit since 5 years total men 34. Than selection by part illness dependent patients after physical therapy then rehabilitation program for occupation therapy. Tools were 1) Assessment for Independent Capability Functions 2) Modified Barthel Index Thai Version 3) Program for Rehabilitation 4) Nurse’s Note Documents. The data were analyzed by t – test, mean, percents and standard deviation. Results: This research were that the development of rehabilitation therapy was at the level good. The mean of self – care significantly at the level of 0.05. The mean was after activity that good for health care.