Publication: Improvement for Diagnosis of G6PD Deficiency Using an In-House Spectrophotometric Assay
dc.contributor.author | Duantida Songdej | en_US |
dc.contributor.author | Usanarat Anurathapan | en_US |
dc.contributor.author | Nongnuch Sirachainan | en_US |
dc.contributor.author | Ampaiwan Chuansumrit | en_US |
dc.contributor.author | Werasak Sasanakul | en_US |
dc.contributor.author | Pakawan Wongwerawattanakoon | en_US |
dc.contributor.author | Lalita Mahaklan | en_US |
dc.contributor.author | Praguywan Kadegasem | en_US |
dc.contributor.author | Rungrote Natesirinilkul | en_US |
dc.contributor.author | เดือนธิดา ทรงเดช | en_US |
dc.contributor.author | อุษณรัสมิ์ อนุรัฐพันธ์ | en_US |
dc.contributor.author | นงนุช สิระชัยนันท์ | en_US |
dc.contributor.author | อำไพวรรณ จวนสัมฤทธิ์ | en_US |
dc.contributor.author | วีระศักดิ์ ศาสนกุล | en_US |
dc.contributor.author | ผกาวรรณ วงศ์วีระวัฒนกูร | en_US |
dc.contributor.author | ลลิตา มหากลั่น | en_US |
dc.contributor.author | ประกายวรรณ เกษเกษม | en_US |
dc.contributor.author | รุ่งโรจณ์ เนตรศิรินิลกุล | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Pediatrics | en_US |
dc.contributor.other | Chiang Mai University. Faculty of Medicine. Department of Pediatrics | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-13T04:17:55Z | |
dc.date.available | 2022-09-13T04:17:55Z | |
dc.date.created | 2022-09-13 | |
dc.date.issued | 2018 | |
dc.description.abstract | Background: Glucose-6-phosphate dehydrogenase (G6PD) deficiency is the most common red cell enzyme defect found in Thai population. Accurate diagnosis is essential for counseling. Objective: To establish a G6PD enzyme assay and reference values. Methods: G6PD deficient Thai individuals and healthy volunteers were recruited. Identification of G6PD mutations and G6PD enzyme assay were performed in all subjects. The cut-offs for classification of residual enzyme level were identified using Receiver Operating Characteristics (ROC) curves. Results: Eighty-eight subjects were divided into three groups according to their G6PD genotype: Group 1, Wild-type (n = 35); Group 2, Carrier (n = 27) and Group 3, Deficiency (n = 26). Median G6PD level (interquartile range) of Group 3 was significantly lower than that of Group 2 and Group 1, 0.6 (0.3 to 1.5) vs 5.3 (4.6 to 6.7) vs 9.3 (8.0 to 10.3) IU/gHb; P < 0.01). G6PD level of < 2.9, > 2.9 - 6.7, and > 6.7 IU/gHb were found to be optimum for classification of residual G6PD enzyme into deficiency, intermediate and normal. These cut-offs resulted in 87% sensitivity and 97% specificity for correct classification of enzyme level according to genetic diagnosis. The enzyme level of 78% of subjects in Group 2 were precisely classified as intermediate deficiency. G6PD Viangchan (871G > A) and Canton (1376G > T) are the two most prevalent mutations found. Conclusions: The established G6PD enzyme assay and its cut-off values provided high sensitivity and specificity for classification of individuals into G6PD deficiency, intermediate and normal. | en_US |
dc.description.abstract | บทนำ: ภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกพีดีเป็นภาวะพร่องเอนไซม์ในเม็ดเลือดแดงที่พบบ่อยที่สุดในประชากรไทย การวินิจฉัยที่แม่นยำจะนำไปสู่การให้คำปรึกษาที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วย วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาการตรวจระดับเอนไซม์จีซิกพีดี และกำหนดค่าอ้างอิงในการวินิจฉัยภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกพีดี วิธีการศึกษา: รวบรวมประชากรไทยที่เคยได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกพีดี และผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรงเข้าสู่งานวิจัย ตรวจระดับเอนไซม์และการกลายพันธุ์ของยีนในผู้เข้าร่วมงานวิจัยทุกราย กำหนดค่าอ้างอิงในการวินิจฉัยภาวะพร่องเอนไซม์โดยใช้ ROC ผลการศึกษา: ผู้เข้าร่วมงานวิจัย 88 ราย แบ่งเป็น 3 กลุ่มตามลักษณะการกลายพันธุ์ของยีน กลุ่มที่ 1 ปกติ (35 ราย), กลุ่มที่ 2 พาหะ (27 ราย) และกลุ่มที่ 3 พร่องเอนไซม์จีซิกพีดี (26 ราย) ค่ามัธยฐาน (interquartile range) ของระดับเอนไซม์จีซิกพีดีในกลุ่ม 3 น้อยกว่ากลุ่ม 2 และกลุ่ม 1 อย่างมีนัยสำคัญ (0.6 (0.3 - 1.5) vs 5.3 (4.6 - 6.7) vs 9.3 (8 - 10.3) IU/gHb, P < 0.01) ค่าระดับเอนไซม์ที่เหมาะสมในการจัดแบ่งผู้เข้าร่วมวิจัยเป็น ผู้มีภาวะพร่องเอนไซม์ พร่องเอนไซม์ระดับปานกลาง และผู้มีระดับเอนไซม์ปกติ คือระดับ < 2.9, > 2.9 - 6.7 และ > 6.7 IU/gHb ตามลำดับ โดยให้ความไวร้อยละ 87 และความจำเพาะร้อยละ 97 ในการแปลผลระดับเอนไซม์จีซิกพีดีสอดคล้องกับลักษณะการกลายพันธุ์ของยีน ค่าอ้างอิงนี้สามารถวินิจฉัยผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่ม 2 ว่ามีภาวะพร่องเอนไซม์ระดับปานกลางได้ถูกต้องถึง 78% ชนิดกลายพันธุ์ของยีนจีซิกพีดีที่พบมากคือ Viangchan (871G > A) และ Canton (1,376G > T) สรุป: วิธีวัดระดับเอนไซม์จีซิกพีดีและค่าอ้างอิงที่พัฒนาขึ้นในงานวิจัยนี้ ให้ความไวและความจำเพาะสูงในการวินิจฉัยผู้มีภาวะพร่องเอนไซม์ พร่องเอนไซม์ระดับปานกลาง และระดับเอนไซม์ปกติ | en_US |
dc.identifier.citation | Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 2 (Apr-Jun 2018), 78-89 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-3611 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2651-0561 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79515 | |
dc.language.iso | eng | en_US |
dc.rights | Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Department of Pediatrics Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Department of Pediatrics Faculty of Medicine Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | G6PD enzyme assay | en_US |
dc.subject | G6PD assay cut-offs | en_US |
dc.subject | G6PD deficiency | en_US |
dc.subject | วิธีวัดระดับเอนไซม์จีซิกพีดี | en_US |
dc.subject | ค่าอ้างอิงการวินิจฉัยภาวะพร่องจีซิกพีดี | en_US |
dc.subject | ภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกพีดี | en_US |
dc.title | Improvement for Diagnosis of G6PD Deficiency Using an In-House Spectrophotometric Assay | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนาการวินิจฉัยภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกพีดีโดยการวัดระดับเอนไซม์ ด้วยวิธีสเปคโตรโฟโตเมทริกเรทดีเทอมิเนชั่น | en_US |
dc.type | Original Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/123747/97472 |