Publication: Postvoid Residual Urine in Women With Pelvic Floor Dysfunction
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 40, No. 1 (Jan-Mar 2017), 8-14
Suggested Citation
Komkrit Aimjirakul, Jittima Manonai, Rujira Wattanayingcharoenchai, Apichart Chittacharoen, คมกฤช เอี่ยมจิรกุล, จิตติมา มโนนัย, รุจิรา วัฒนายิ่งเจริญชัย, อภิชาติ จิตต์เจริญ Postvoid Residual Urine in Women With Pelvic Floor Dysfunction. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 40, No. 1 (Jan-Mar 2017), 8-14. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79569
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Postvoid Residual Urine in Women With Pelvic Floor Dysfunction
Alternative Title(s)
ปัสสาวะเหลือค้างในสตรีที่มีความผิดปกติของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
Abstract
Objective: To evaluate the correlation between postvoid residual urine (PVR) and urinary tract infection (UTI) in women with pelvic floor dysfunction.
Methods: A retrospective chart review was carried out of all new patients with symptoms of pelvic floor dysfunction. PVR was assessed with transvaginal ultrasonography. UTI was diagnosed by urine culture in woman as growth of more than 100,000 colony forming units (CFU)/ml of the uropathogenic bacteria.
Results: Two hundred and forty (82%) of 290 medical records were completed for this analysis. The overall percentages of PVR were 82.9% at 0-30 ml, 7.1% at 31-50 ml, 7.5% at 51-100 ml and 2.5% at more than 100 ml. The percentage of women who had ≥ 30 ml PVR were 29% and 6% in pelvic organ prolapse (POP) stage II or greater with stress urinary incontinence (SUI) and SUI alone groups, respectively. The percentages of UTI were 27.1%, 35.3%, 11.1% and 33.3% for PVR at 0-30 ml, 31-50 ml, 51-100 ml and more than 100 ml, respectively. Elevated PVR was not associated with UTI (P>0.05).
Conclusions: Elevated PVR was not associated with UTI. Women with POP stage II or greater and SUI tended to have higher PVR (more than 30 ml) compared to women who had SUI alone.
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างปัสสาวะเหลือค้างกับการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในสตรีที่มีความผิดปกติของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน วิธีการศึกษา: ทบทวนเวชระเบียนของผู้ป่วยใหม่ทั้งหมดที่มีอาการผิดปกติของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน ซึ่งได้ทำการตรวจวัดปริมาณปัสสาวะเหลือค้างด้วยเครื่องตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทุกราย รวมทั้งเก็บปัสสาวะเพาะเชื้อ โดยใช้เกณฑ์การวินิจฉัยการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะจากผลเพาะเชื้อที่มีเชื้อก่อโรคมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ หน่วยโคโลนีต่อมิลลิลิตร ผลการศึกษา: 240 เวชระเบียนที่มีข้อมูลสมบูรณ์จากเวชระเบียนผู้ป่วยใหม่ทั้งหมด 290 ราย ภายหลังจากการวิเคราะห์พบว่าสตรีที่มีความผิดปกติของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานโดยรวม ร้อยละ 82.9 มีปัสสาวะเหลือค้าง 0-30 มิลลิลิตร, ร้อยละ 7.1 มีปัสสาวะเหลือค้าง 31-50 มิลลิลิตร, ร้อยละ 7.5 มีปัสสาวะเหลือค้าง 51-100 มิลลิลิตรและร้อยละ 2.5 มีปัสสาวะเหลือค้างมากกว่า 100 มิลลิลิตร สตรีที่มีอุ้งเชิงกรานหย่อนมากกว่าระดับสองร่วมกับมีปัสสาวะเล็ดพบว่ามีปัสสาวะเหลือค้างมากกว่า 30 มิลลิลิตร ร้อยละ 29 เมื่อเทียบกับสตรีที่มีปัสสาวะเล็ดอย่างเดียวจะมีปัสสาวะเหลือค้างมากกว่า 30 มิลลิลิตรเพียงร้อยละ 6 เท่านั้น สตรีที่มีปัสสาวะเหลือค้าง 0-30 มิลลิลิตร, 31-50 มิลลิลิตร, 51-100 มิลลิลิตร และมากกว่า 100 มิลลิลิตร พบว่ามีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะร้อยละ 27.1, 35.3, 11.1 และ 33.3 ตามลำดับ ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของปัสสาวะเหลือค้างจึงไม่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ สรุป: การเพิ่มขึ้นของปัสสาวะเหลือค้างไม่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ สตรีที่มีอุ้งเชิงกรานหย่อนมากกว่าระดับสองร่วมกับมีภาวะไอจามปัสสาวะเล็ด มีแนวโน้มที่จะมีปัสสาวะเหลือค้างมากกว่า 30 มิลลิลิตรเมื่อเทียบกับสตรีที่มีปัสสาวะเล็ดอย่างเดียว
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างปัสสาวะเหลือค้างกับการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในสตรีที่มีความผิดปกติของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน วิธีการศึกษา: ทบทวนเวชระเบียนของผู้ป่วยใหม่ทั้งหมดที่มีอาการผิดปกติของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน ซึ่งได้ทำการตรวจวัดปริมาณปัสสาวะเหลือค้างด้วยเครื่องตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทุกราย รวมทั้งเก็บปัสสาวะเพาะเชื้อ โดยใช้เกณฑ์การวินิจฉัยการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะจากผลเพาะเชื้อที่มีเชื้อก่อโรคมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ หน่วยโคโลนีต่อมิลลิลิตร ผลการศึกษา: 240 เวชระเบียนที่มีข้อมูลสมบูรณ์จากเวชระเบียนผู้ป่วยใหม่ทั้งหมด 290 ราย ภายหลังจากการวิเคราะห์พบว่าสตรีที่มีความผิดปกติของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานโดยรวม ร้อยละ 82.9 มีปัสสาวะเหลือค้าง 0-30 มิลลิลิตร, ร้อยละ 7.1 มีปัสสาวะเหลือค้าง 31-50 มิลลิลิตร, ร้อยละ 7.5 มีปัสสาวะเหลือค้าง 51-100 มิลลิลิตรและร้อยละ 2.5 มีปัสสาวะเหลือค้างมากกว่า 100 มิลลิลิตร สตรีที่มีอุ้งเชิงกรานหย่อนมากกว่าระดับสองร่วมกับมีปัสสาวะเล็ดพบว่ามีปัสสาวะเหลือค้างมากกว่า 30 มิลลิลิตร ร้อยละ 29 เมื่อเทียบกับสตรีที่มีปัสสาวะเล็ดอย่างเดียวจะมีปัสสาวะเหลือค้างมากกว่า 30 มิลลิลิตรเพียงร้อยละ 6 เท่านั้น สตรีที่มีปัสสาวะเหลือค้าง 0-30 มิลลิลิตร, 31-50 มิลลิลิตร, 51-100 มิลลิลิตร และมากกว่า 100 มิลลิลิตร พบว่ามีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะร้อยละ 27.1, 35.3, 11.1 และ 33.3 ตามลำดับ ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของปัสสาวะเหลือค้างจึงไม่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ สรุป: การเพิ่มขึ้นของปัสสาวะเหลือค้างไม่สัมพันธ์กับการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ สตรีที่มีอุ้งเชิงกรานหย่อนมากกว่าระดับสองร่วมกับมีภาวะไอจามปัสสาวะเล็ด มีแนวโน้มที่จะมีปัสสาวะเหลือค้างมากกว่า 30 มิลลิลิตรเมื่อเทียบกับสตรีที่มีปัสสาวะเล็ดอย่างเดียว