Publication: การใช้ประโยชน์พื้นที่ในอาคาร คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีการศึกษา 2555
Issued Date
2558
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 2, (ส.ค. 2558), 63-80
Suggested Citation
ชฎาพร ประสพถิ่น, เอมอร พิทยายน การใช้ประโยชน์พื้นที่ในอาคาร คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีการศึกษา 2555. วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 2, (ส.ค. 2558), 63-80. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2831
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
การใช้ประโยชน์พื้นที่ในอาคาร คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปีการศึกษา 2555
Alternative Title(s)
Space Utilization in the Faculty of Environment and Resource Studies, Mahidol University for Academic Year 2013
Author(s)
Abstract
งานวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการใช้พื้นที่ จานวน 4 อาคาร ของคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ ตามอัตราการใช้ประโยชน์พื้นที่
(เพื่อการเรียนการสอน การบริการ การบริหาร และการสัญจร) และศึกษาอัตราการใช้ห้อง (จากจำนวนชั่วโมงที่มีการใช้ห้องบรรยาย และห้องปฏิบัติการ)
รวมถึงศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์พื้นที่อาคาร ของคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ กับประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์พื้นที่
อาคาร ของมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ที่มีบริบทด้านการเรียนการสอนใกล้เคียงกัน และมีรายงานผลการศึกษาด้านการใช้พื้นที่เผยแพร่แล้ว 3 มหาวิทยาลัย
โดยวิเคราะห์ข้อมูลตามเกณฑ์มาตรฐานประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์อาคารของสถาบันอุดมศึกษาปี
พ.ศ. 2556 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ สูตรคำนวณประสิทธิภาพการใช้พื้นที่ ค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ
ผลการวิจัยพบว่า ทั้ง 4 อาคารของคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มีพื้นที่ใช้ประโยชน์รวมทั้งหมด 31,794.00 ตารางเมตร มีการใช้ประโยชน์พื้นที่
เพื่อการบริการ สูงสุด ร้อยละ 46.00 รองลงมาคือใช้เพื่อการสัญจร ร้อยละ 22.78 ซึ่งใกล้เคียงกับการใช้เพื่อการเรียนการสอน ร้อยละ 22.02
และใช้เพื่อการบริหาร น้อยที่สุด ร้อยละ 9.19 เมื่อเปรียบเทียบผลการใช้ห้องบรรยายของคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์กับมหาวิทยาลัยอื่น
พบว่า คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มีการใช้ประโยชน์พื้นที่ในอาคาร สูงที่สุด คือร้อยละ 73.92 รองลงมาคือ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร้อยละ 62.78 ตามด้วยสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีร้อยละ 31.40 และคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
น้อยที่สุดร้อยละ 13.19 และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรวมประสิทธิภาพการใช้ห้องบรรยาย ของคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
ที่มีการใช้ร้อยละ 32.33 กับค่าเฉลี่ยรวมประสิทธิภาพการใช้ห้องบรรยาย ของทุกมหาวิทยาลัย ที่มีการใช้ร้อยละ 15.99
พบว่าคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มีประสิทธิภาพการใช้ห้องบรรยาย มากกว่ามหาวิทยาลัยอื่นๆ ร้อยละ 16.35 เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรวม
ประสิทธิภาพการใช้ห้องปฏิบัติการของคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ที่ได้ร้อยละ 30.27 กับค่าเฉลี่ยรวมประสิทธิภาพการใช้ห้องปฏิบัติการ
ของทุกมหาวิทยาลัย ที่ได้ร้อยละ 39.89 พบว่าคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรกรศาสตร์ มีประสิทธิภาพการใช้ห้องปฏิบัติการ น้อยกว่า มหาวิทยาลัยอื่น
ร้อยละ 9.62
This research studied the rate of space utilization of the 4 buildings of the Faculty of Environment and Resource Studies for learning and teaching, student and teacher services, administration, and traffic purposes. In addition, this research compared the efficiency of space utilization between the Faculty of Environment and Resource Studies and other 3 Thai universities with a similar learning and teaching context. The analysis of data follows the standard criteria announced by the Ministry of Education concerning Guidelines for Space Utilization Optimization of Higher Education 2013. The statistics used for computing the efficiency of space utilization in this study are means and percentage. The results showed that the total used area in four buildings of the Faculty of Environment and Resource Studies was 31,794.00 square meters, with the most space used for services at 46 percent, and followed by the space used for traffic purpose at 22.78 percent, which is close to that being used for teaching and learning at 22.02 percent. The lowest use is for administrative functions at 9.19 percent. The Faculty of Environment and Resource Studies’ utilization of the lecture rooms was 16.34 percent higher than the other 3 Thai universities. The total efficiency of Laboratory Room utilization by Faculty of Environmental and Resource Studies was at 9.62 percent lower than the other universities.
This research studied the rate of space utilization of the 4 buildings of the Faculty of Environment and Resource Studies for learning and teaching, student and teacher services, administration, and traffic purposes. In addition, this research compared the efficiency of space utilization between the Faculty of Environment and Resource Studies and other 3 Thai universities with a similar learning and teaching context. The analysis of data follows the standard criteria announced by the Ministry of Education concerning Guidelines for Space Utilization Optimization of Higher Education 2013. The statistics used for computing the efficiency of space utilization in this study are means and percentage. The results showed that the total used area in four buildings of the Faculty of Environment and Resource Studies was 31,794.00 square meters, with the most space used for services at 46 percent, and followed by the space used for traffic purpose at 22.78 percent, which is close to that being used for teaching and learning at 22.02 percent. The lowest use is for administrative functions at 9.19 percent. The Faculty of Environment and Resource Studies’ utilization of the lecture rooms was 16.34 percent higher than the other 3 Thai universities. The total efficiency of Laboratory Room utilization by Faculty of Environmental and Resource Studies was at 9.62 percent lower than the other universities.